1 / 23

การสนับสนุนและชดเชยบริการ กองทุนเอดส์ ปีงบประมาณ 2556

การสนับสนุนและชดเชยบริการ กองทุนเอดส์ ปีงบประมาณ 2556. สถานการณ์. สถานการณ์. สถานการณ์. สถานการณ์. สถานการณ์. สถานการณ์. สถานการณ์. กรอบบริหารกองทุนเอดส์ปี 56. ปี 54 = 2,770 ลบ. เป้าหมายยา ต้าน 174,400 ราย สูตรพื้นฐาน 157,000 ราย สูตรดื้อยา 17,400 ราย. ปี 55 = 2,940 ลบ.

neo
Download Presentation

การสนับสนุนและชดเชยบริการ กองทุนเอดส์ ปีงบประมาณ 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสนับสนุนและชดเชยบริการการสนับสนุนและชดเชยบริการ กองทุนเอดส์ ปีงบประมาณ 2556

  2. สถานการณ์

  3. สถานการณ์

  4. สถานการณ์

  5. สถานการณ์

  6. สถานการณ์

  7. สถานการณ์

  8. สถานการณ์

  9. กรอบบริหารกองทุนเอดส์ปี 56 ปี 54 = 2,770 ลบ. • เป้าหมายยาต้าน 174,400 ราย • สูตรพื้นฐาน 157,000 ราย • สูตรดื้อยา 17,400 ราย ปี 55 = 2,940 ลบ. งบบริการผู้ติดเชื้อHIV/AIDS 3,276.8 ลบ. หมวดสนับสนุนการจัดบริการ 42.5 ลบ. หมวดชดเชยบริการ 3,234.3 ลบ. • ยา • ชันสูตร • บริการปรึกษา • พัฒนาคุณภาพบริการ 34 ลบ.(14+20) • พัฒนาบุคลากร 2.5 ลบ. (สปสช.เขต) • ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการ 6 ลบ.

  10. สิ่งที่เปลี่ยนแปลงจากปี 55

  11. แนวทางจัดสรรงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมการดูแลรักษา การค้นหาผู้สัมผัสกับผู้ป่วยวัณโรคปีงบประมาณ 2556

  12. รูปแบบการจัดสรร • ผลลัพธ์ดำเนินงานปี 55 มีผลต่อการจัดสรรงบ DOT และ ACF ปี 56 • ครึ่งหนึ่งของงบ DOT+ACF ปี 56 จะจัดสรรโดยใช้ผลลัพธ์ดำเนินงานปี 55 และเพิ่มสัดส่วนในปีถัดๆ ไป • ปี 56 จัดสรรงบเป็น 2 ส่วน 1) ร้อยละ 50 : เงื่อนไขตามสัดส่วนปัจจัยปริมาณงาน 2) ร้อยละ 50 : เงื่อนไขตามสัดส่วนปัจจัยปริมาณงานร่วมกับผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดการดำเนินงาน

  13. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน • อัตราผลสำเร็จของการรักษา จน. ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวกขึ้นทะเบียนที่มีผลรักษาหายและครบX 100 จน.ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวกขึ้นทะเบียนที่มีผลสรุปการรักษา • อัตราขาดยา จน.ผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนที่ขาดยาX 100 จน.ผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนที่มีผลสรุปการรักษา • ระยะเวลาที่ใช้ข้อมูล : ข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียน ไตรมาสที่ 3,4 ปี 2554 – ไตรมาสที่ 1,2 ปี 2555

  14. วิธีการคำนวณ : ส่วนที่ 1 • ส่วนที่ 1 : คำนวณตามปริมาณงานในแต่ละพื้นที่ (ร้อยละ 50 ของวงเงินจัดสรร) • ปัจจัยการคำนวณ 3 ปัจจัย คือ - จำนวนประชากรกลางปี 2555 (UCS+WEL) ฐาน สปสช. - จำนวนผู้ป่วยขึ้นทะเบียนปี 2555 ฐานข้อมูลวัณโรค สปสช. - กำหนด Fix cost ร้อยละ 10 ของวงเงินจัดสรร

  15. วิธีการคำนวณ : ส่วนที่ 2 • ส่วนที่ 2 : คำนวณตามผลลัพธ์การดำเนินงานปี 55 (ร้อยละ 50 ของวงเงินจัดสรร) หลักเกณฑ์การคำนวณ คือ - คำนวณสัดส่วนคะแนนตามปริมาณงานของแต่ละเขต - นำตัวเลขผลสำเร็จการรักษาและอัตราขาดยา รายเขต มาคำนวณเป็นคะแนนตามผลลัพธ์ - นำคะแนนตามผลลัพธ์ที่แต่ละเขตได้รับ มาคำนวณสัดส่วนของเงินที่แต่ละเขตได้รับ เพื่อจัดสรรงบตามผลลัพธ์ตัวชี้วัด

  16. การบูรณาการ 3 กองทุน เป้าหมายการบูรณาการ • ให้มีมาตรฐานการดูแลรักษา และสิทธิประโยชน์เดียวกัน • บูรณาการระบบสารสนเทศการดูแลรักษาเอชไอวี (NAP Plus) • บูรณาการเครือข่ายให้บริการ

  17. การดำเนินการปรับมาตรฐานการรักษาการดำเนินการปรับมาตรฐานการรักษา และสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพฯ • ปรับเกณฑ์การเริ่มยาต้านไวรัส จากเดิม CD4 น้อยกว่า 200 เป็น น้อยกว่า 350 • ปรับเกณฑ์การตรวจ Viral load จากเดิม 1 ครั้งต่อปี เป็น 1-2 ครั้งต่อปี ขึ้นกับระยะของโรค (ให้รอหนังสือแจ้งเป็นทางการ) • เพิ่มยาต้านไวรัสตัวใหม่และยาลดไขมันในเลือด ในบัญชียาหลักแห่งชาติ และใน VMI • Darunavir • Atorvastatin (Lipitor)

  18. บูรณาการระบบสารสนเทศการดูแลรักษาเอชไอวี (NAP Plus) • ประกาศให้หน่วยบริการบันทึกข้อมูลในโปรแกรม NAP Plus. ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 และใช้. ART.(โปรแกรมบันทึกข้อมูลผู้ติดเชื้อในระบบ ปกส.) ร่วมด้วยในการเบิกยาและ lab • ดำเนินการจัดอบรมสถานพยาบาลเอกชนกลุ่มที่ยังไม่เคยใช้. NAP (ประมาณ 88 แห่ง) ทั่วประเทศโดยให้หน่วยบริการใช้ระบบ ART. ไปก่อนจนกว่า. NAP Plus จะสมบูรณ์และผู้ประกันตนยังคงรับยาและตรวจ lab. ที่เดิม. โดยหากต้องการย้ายไปรับยาที่ใหม่. ต้องแก้ปัญหาเป็นกรณีๆ ไป

  19. บูรณาการเครือข่ายให้บริการบูรณาการเครือข่ายให้บริการ ประกันสังคม รพ.เอกชนที่เป็นคู่สัญญาหลักของสปส. แต่ไม่อยู่ในระบบหลักประกันสุขภาพฯ UC เพิ่ม รพ.เอกชนที่ขึ้นทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพฯ เครือข่ายสวัสดิการข้าราชการ โรงพยาบาลรัฐ (รพศ., รพท., รพช., Excellent center, รพ.รร.แพทย์) เมื่อผู้ป่วยเปลี่ยนสิทธิ อาจจำเป็นต้องเปลี่ยนโรงพยาบาลรับยาต้านฯ

  20. แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยเมื่อเปลี่ยนสิทธิหรือย้ายโรงพยาบาลแนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยเมื่อเปลี่ยนสิทธิหรือย้ายโรงพยาบาล • แจ้งให้แพทย์/ พยาบาล/ ผู้ประสานการดูแล (HIV coordinator) ทราบ เพื่อขอหนังสือส่งตัวและประวัติการรักษา • นำหนังสือส่งตัวและประวัติการรักษาไปยื่นที่ รพ.แห่งใหม่ เพื่อการรักษาที่ต่อเนื่อง • ผู้ที่เปลี่ยนสิทธิการรักษาจากสิทธิหลักประกันสุขภาพฯ หรือสิทธิสวัสดิการข้าราชการ ไปเป็นสิทธิประกันสังคม จะสามารถใช้สิทธิประกันสังคมได้เมื่อจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน • ผู้ที่เปลี่ยนสิทธิจากประกันสังคม ไปเป็นสิทธิหลักประกันสุขภาพฯ จะยังคงสิทธิประกันสังคมต่อเนื่องอีก 6 เดือนหลังออกจากงาน หมายเหตุ :- ผู้รับยาต้านฯที่เปลี่ยนสิทธิแต่ไม่ย้ายรพ. สามารถรับยาต่อเนื่องได้ตามปกติ

  21. แนวทางปฏิบัติสำหรับหน่วยบริการเมื่อผู้ป่วยเปลี่ยนสิทธิหรือย้ายโรงพยาบาลแนวทางปฏิบัติสำหรับหน่วยบริการเมื่อผู้ป่วยเปลี่ยนสิทธิหรือย้ายโรงพยาบาล • ออกหนังสือส่งตัว และสรุปประวัติการรักษา ให้ผู้ป่วยไปยื่นที่ รพ. แห่งใหม่ • ผู้ประสานการดูแล (HIV coordinator) ของทั้งสองแห่ง ประสานข้อมูลการรักษาของผู้ป่วย • รพ.ที่ส่งผู้ป่วย บันทึกการย้ายผู้ป่วยในโปรแกรมบูรณาการสารสนเทศผู้ติดเชื้อฯสำหรับ 3 กองทุน (NAP plus) • รพ. ที่รับย้าย บันทึกข้อมูลการรักษาผู้ป่วยทุกคนของ 3 กองทุน ในโปรแกรม NAP plus • เบิกชดเชยค่าบริการ ตามระเบียบและเงื่อนไขของแต่ละกองทุน

  22. การใช้ข้อมูลรายงานจาก NAP • รายงานสำเร็จรูป • รายงานที่ต้องการเพิ่มเติม

  23. การแจ้งปัญหา / ข้อเสนอแนะ • ปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น พบ error, สามารถติดต่อIT Helpdeskโทร.0 2141 4200 Email address : ithelpdesk@nhso.go.th • ปัญหาเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติ และอื่น ๆ ติดต่อ ทีมกองทุนเอดส์ฯ สปสช. โทร. 0 2141 4202 Email address:aidscare@nhso.go.th

More Related