html5-img
1 / 16

Supply-side Effects of Fiscal Policy

Supply-side Effects of Fiscal Policy. ทบทวนวรรณกรรม. Demand Side Effects Keynesian approach และ Crowding out Multiplier effect on AD ราคาที่คงที่และความสามารถที่ยังเหลือ (Price rigidity and excess capacity) การกำหนดการลงทุนเอกชน อุปสงค์ของเงิน (Money demand and monetary policy)

neith
Download Presentation

Supply-side Effects of Fiscal Policy

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Supply-side Effects of Fiscal Policy

  2. ทบทวนวรรณกรรม • Demand Side Effects • Keynesian approach และ Crowding out • Multiplier effect on AD • ราคาที่คงที่และความสามารถที่ยังเหลือ (Price rigidityand excess capacity) • การกำหนดการลงทุนเอกชน • อุปสงค์ของเงิน (Money demand and monetary policy) • การเปิดประเทศและอัตราแลกเปลี่ยน

  3. ทบทวนวรรณกรรม • Non-Keynesian effects of fiscal policy • Rational expectations (Forward adjustment) นโยบายการคลังมีผลทั้งใน ระยะสั้นและยาว • Ricardian Equivalence ถ้าผู้บริโภคเป็น forward looking และรู้ผลของนโยบายรัฐอย่างดี

  4. ทบทวนวรรณกรรม • Supply Side Effect • ภาษี รายจ่ายรัฐบาล และการเจริญเติบโต • New Classical Models • เชื่อว่าการผันผวนของผลผลิตเป็นผลมาจากด้านอุปทานไม่ใช่อุปสงค์ (Lucas Model 1975; Sargent and Wallace 1975) ทุกๆ อย่างที่เกิดจากด้านอุปสงค์ที่ถูกคาดการณ์ไว้อย่างเต็มที่แล้วและไม่มีผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไม่ว่าในระยะสั้นและระยะยาว การเพิ่มของผลผลิตจะเกิดจากอุปทานอย่างเดียว ผลจากการจัดการด้านอุปสงค์ที่มีต่อผลผลิตเกิดจากสิ่งที่ไม่ได้คาดการณ์ เช่นราคาน้ำมัน ฯลฯแต่จะมีผลผ่านด้านอุปทาน

  5. ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทานผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน • จากมุมมองด้านอุปทาน อัตราภาษีส่วนเพิ่ม (marginal tax rate) มีความสำคัญต่อการปรับตัวอย่างมาก: • การลดลงของอัตราภาษีทำให้เสมือนแรงงานได้รับรางวัลจากการทำงานเพิ่มขึ้น • ขณะเดียวกันด้านการลงทุนการออม และกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ จะถูกเก็บภาษีน้อยลง • อัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นจะบิดเบือนผลผลิตเพรา: • ไม่ส่งเสริมการทำงานและลดผลิตภาพ (productivity) ของแรงงาน • ส่งผลทางลบแก่การสะสมทุนและการใช้ทุนให้มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมให้บุคคลทดแทนการลดหย่อนภาษีในสิ่งที่ไม่ปรารถนามากขึ้นเพื่อเป็นการหลบหรือหลีกเลี่ยงการเสียภาษีมากขึ้น

  6. ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทานผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน • การเพิ่มอัตราภาษีอาจทำให้มีผลต่อ อุปทานมวลรวม aggregate supplyเพราะการเปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ของปัจจัยการผลิตเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี • ผลต่อด้านอุปทาน: • มักใช้เวลานานกว่าจะเห็นผลที่แท้จริง • มีตัวอย่างประเทศที่มีอัตราภาษีสูงจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่น้อยกว่าประเทศที่มีอัตราภาษีต่ำ • ยังเป็นข้อถกเถียงถึงผลจากด้านอุปทานว่าที่แท้จริงคืออะไร แต่บทเรียนต่างประเทศแสดงให้เห็นว่าประเทศที่มีอัตราภาษีสูงมากๆ จะมีการขยายตัวเศรษฐกิจต่ำกว่า

  7. LRAS2 SRAS2 เมื่อมีการลดอัตราภาษีจะส่งเสริมให้มีการขยายตัวเศรษฐกิจ (shifting LRAS and SRAS out to LRAS2 and SRAS2). E2 AD2 นโยบายด้านอุปทานและการขยายตัวเศรษฐกิจ LRAS1 ระดับราคา SRAS1 E1 P0 AD1 สินค้าและบริการ(real GDP) YF1 YF2 • การลดภาษีเพิ่มแรงจูงใจในการหาและใช้ปัจจัยการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น AD1 shifts out to AD2, and SRAS & LRAS shift to the right. • หากการลดภาษีเป็นการทำให้เกิดการขาดดุลการคลัง ADอาจขยายตัวมากกว่าsupply, นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของระดับราคา.

  8. The Lucas Supply Function • The Lucas supply functionเป็นสมการด้านอุปทานที่แสดงว่า ผลผลิต (Y) ขึ้นกับความแตกต่างระหว่างราคาแท้จริง (P) และราคาที่คาดการณ์ (Pe):

  9. The Lucas Supply Function • ความแตกต่างของทั้งสองราคาดังกล่าวคือprice surprise.

  10. The Lucas Supply Function • เหตุผลของ the Lucas supply function คือการเพิ่มขึ้นของราคาที่ไม่ได้คาดการณ์ทำให้แรงงานและบริษัทเข้าใจผิดในระดับราคาเปรียบเทียบทำให้ปรับเปลี่ยนจำนวนแรงงานหรือผลผลิตที่ให้แก่ระบบเศรษฐกิจ

  11. The Lucas Supply Function • Rational-expectations theory, ที่ผสมผสานกับ Lucas supply function, นำไปสู่ข้อเสนอในบทบาทของภาครัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ

  12. Supply-Side Economics • เป็นการอธิบายทฤษฎีด้านอุปสงค์ที่ไม่สามารถอธิบายด้วยทฤษฎีปกติระหว่างปี 1970s. • นักเศรษฐศาสตร์ Supply Side เชื่อว่าภาษีที่สูงขึ้นทำให้การลงทุน การจ้างงาน ฯลฯ ถูกจำกัดลงการใช้เครื่องด้านอุปสงค์จึงไม่กระตุ้นให้เกิดการแก้ไขขึ้นได้ดีเท่ากับด้านอุปทาน

  13. The Laffer Curve • Laffer curveแสดงความสัมพันธ์อัตราภาษี ณ ระดับหนึ่งที่หากมีอัตราเกินระดับดังกล่าวทำให้รายได้ภาษีจะลดลงแม้เมื่อมีการเพิ่มอัตราภาษีขึ้นก็ตาม

  14. The Laffer Curve • The Laffer curve แสดงจำนวนรายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บที่ขึ้นกับอัตราภาษี

  15. The Laffer Curve • เมื่ออัตราภาษีสูงขึ้นอาจส่งผลให้รายได้ภาษีลดลง • ทำนองเดียวกันการลดภาษีอาจสร้างแรงจูงใจกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นำไปสู่รายได้อื่นเพิ่มขึ้น

  16. ข้อวิจารณ์ supply side economic • ผลของการลดภาษีมีผลต่อเศรษฐกิจและอุปทานของแรงงานน้อย • ผลจากการลดภาษีต่อครัวเรือนนั้นหลังจากภาษีเพิ่มขึ้น อาจมีได้ทั้งสองทางคือเพิ่มการทำงานหรือลดการทำงาน โดยผลสุทธิขึ้นกับ income and substitution effects.

More Related