1 / 29

การบริหารและ การพัฒนาองค์การ

การบริหารและ การพัฒนาองค์การ. หลักสูตรผู้กำกับการ. โดย พล.ต.ต.ดร.จักรกฤษศณ์ สิงห์ศิลารักษ์. ผู้บังคับการ กองบังคับการฝึกอบรมตำรวจกลาง กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. ความเหมือนและความแตกต่าง. การบริหารงาน. Management. การจัดการ. มักใช้ในองค์กรเอกชน ภาคธุรกิจ. Administration.

nedaa
Download Presentation

การบริหารและ การพัฒนาองค์การ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารและการพัฒนาองค์การการบริหารและการพัฒนาองค์การ หลักสูตรผู้กำกับการ โดย พล.ต.ต.ดร.จักรกฤษศณ์ สิงห์ศิลารักษ์ ผู้บังคับการ กองบังคับการฝึกอบรมตำรวจกลาง กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

  2. ความเหมือนและความแตกต่างความเหมือนและความแตกต่าง การบริหารงาน Management การจัดการ มักใช้ในองค์กรเอกชน ภาคธุรกิจ Administration การบริหารงาน มักใช้ในองค์กรของรัฐ ภาคราชการ

  3. การบริหารมีลักษณะที่สำคัญ 2 ประการ • มีวัตถุประสงค์ (ผลที่ต้องการให้เกิดขึ้น) • มีทรัพยากรหรือปัจจัยในการบริหาร การบริหารงาน คืออะไร การบริหารงาน หมายถึง การดำเนินงานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยอาศัยทรัพยากรหรือปัจจัยต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการบริหาร

  4. การพัฒนา คืออะไร การพัฒนา (Development) หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น

  5. องค์การ คืออะไร องค์การ (Organization) หมายถึง การจัดรวมบุคคลที่ทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายเฉพาะอย่าง

  6. การบริหารและการพัฒนาองค์การ คืออะไร การบริหารและการพัฒนาองค์การ(Administration and Organization Development) หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานและการจัดรวมบุคคลที่ทำงานในทางที่ดีขึ้น เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยอาศัยทรัพยากรหรือปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการบริหารให้เกิดประโยชน์สูงสุด

  7. แนวคิดทางอาชญาวิทยางานตำรวจ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาพแวดล้อม • สังคม ประชาชน • เศรษฐกิจ • การเมือง • พ.ร.บ.ตำรวจ พ.ศ.2547 • เทคโนโลยี ฯลฯ • ทฤษฎีทางอาชญาวิทยา • การควบคุมอาชญากรรม เช่น งานชุมชนสัมพันธ์ การบริหารงานตำรวจ องค์การ • การบริหารงานกึ่งพลเรือนกึ่งทหาร • งานสืบสวน • กฎหมาย • กระบวนการยุติธรรม แนวคิดทางการบริหาร (รัฐกิจและธุรกิจ) • ก่อนยุคดั้งเดิม • ยุคดั้งเดิม • ยุคพฤติกรรมของคน • ยุคเชิงปริมาณ • ยุคปัจจุบัน • ยุคดั้งเดิม • ยุคปัจจุบัน

  8. ก่อนยุคดั้งเดิม ยุคพฤติกรรม ของคน ยุคปัจจุบัน ทฤษฎีระบบ ยุคดั้งเดิม ยุคเชิงปริมาณ ทฤษฎีตาม สภาวะการณ์ การบริหาร คุณภาพรวม การบริหารงาน เชิงวิทยาศาสตร์ การวิจัย เชิงปฏิบัติการ การปรับรื้อ ระบบและการ ปรับประดิษฐ์ ภาครัฐ การบริหารงาน เชิงราชการ การบริหารงาน เชิงปฏิบัติการ ระบบข้อมูล ข้อสนเทศทาง การบริหารงาน การบริหารงาน เชิงบริหาร จริยธรรมใน การบริหาร แนวคิด/ทฤษฎีทางการบริหารงาน

  9. ยุคดั้งเดิม (Classical Viewpoint) การบริหารงานเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) Frederick W. Taylor ได้เสนอแนวคิดที่เป็นการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ของวิธีการทำงานเพื่อจะปรับปรุงคนงานให้มีประสิทธิภาพ 1. ศึกษาแต่ละส่วนของงานและพัฒนาวิธีการที่ดีที่สุด ของการทำงานในแต่ละส่วนนั้น ๆ 2. เลือกสรรคนและฝึกอบรมวิธีการทำงานของแต่ละส่วนงาน 3. คนงานในทุกส่วนของงานร่วมมือซึ่งกันและกัน 4. แบ่งงานและความรับผิดชอบให้คนงาน

  10. ยุคดั้งเดิม (Classical Viewpoint) การบริหารงานเชิงราชการ (Bureaucratic Management) Max Weber เสนอแนวคิดที่เป็นความต้องการ สำหรับองค์การที่จะดำเนินการในลักษณะเป็นเหตุ เป็นผลมากกว่าจะเป็นไปตามอำเภอใจของเจ้าของ หรือผู้จัดการ

  11. ระบบราชการ (Bureaucracy) โดยกำหนด “ระบบราชการ” และทฤษฎีเกี่ยวกับ แบบในอุดมคติ (Ideal Type) ซึ่งได้แก่ ความเชี่ยวชาญในงาน (Specialization) 1 กฎและระเบียบข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการ(Formal Rules and Regulations) 2 การปกครองตามลำดับชั้น (Hierarchy) 3 การเลื่อนระดับตำแหน่งบนพื้นฐานของ ระบบคุณธรรม 4 และ อำนาจหน้าที่ที่ได้รับมาจากตำแหน่ง ไม่ใช่จากสถานะของบุคคล 5

  12. ยุคปัจจุบัน การปรับรื้อระบบ (Reengineering) และ การปรับประดิษฐ์ภาครัฐ (Reinventing Government) การปรับรื้อระบบ (Reengineering) ได้แก่ การคิด ใหม่ทั้งระบบ และการออกแบบกระบวนการ ดำเนินงานตั้งแต่รากฐานขององค์การ เพื่อให้ ประสบความสำเร็จต่อการปรับปรุงอย่างทันทีทันใด โดยมีมาตรการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น ต้นทุน คุณภาพ การบริการ ความเร็ว ฯลฯ

  13. ยุคปัจจุบัน การปรับประดิษฐ์ภาครัฐ (Reinventing Government) เป็นแนวคิดการบริหารงานภาครัฐ ที่รูปแบบองค์การ ของรัฐควรเป็น “องค์การแบบผู้ประกอบการ” โดยทำหน้าที่กำหนดและควบคุมนโยบาย เท่านั้น ส่วนการปฏิบัติตามนโยบายควรจะให้อำนาจชุมชน เป็นผู้คิดและดำเนินการ (ในแนวทางเดิมประชาชน และชุมชนเป็นเพียงผู้รับบริการแต่เพียงอย่างเดียว) นอกจากนั้น จะต้องใช้หลักการบริหารเชิงธุรกิจมาใช้ ในองค์การภาครัฐ เช่น การแข่งขัน ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ การตลาด การกระจายอำนาจ การป้องกัน การหารายได้ ฯลฯ

  14. การปรับประดิษฐ์ภาครัฐ (Reinventing Government) Osborne and Gaebler (1993) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการปรับประดิษฐ์องค์การและการบริหารงานภาครัฐรูปแบบใหม่ มีแนวทางปฏิบัติ 10 ประการ 1. Catalytic government: steering rather than rowing 2. Community-owned government: empowering rather than serving 3. Competitive government: injecting competition into service delivery 4. Mission-driven government: transforming rule-driven organizations 5. Results-oriented government: funding outcomes, not inputs 6. Customer-driven government: meeting the needs of the customer, not the bureaucracy 7. Enterprising government: earning rather than spending 8. Anticipatory government: prevention rather than cure 9. Decentralized government: from hierarchy to participation and teamwork 10. Market-oriented government: leveraging change through the market

  15. ยุคปัจจุบัน จริยธรรมในการบริหารงาน (Managerial Ethics) หลักธรรมาธิบาล หรือธรรมรัฐ หรือหน่วยงานภาครัฐ ที่ดี(Good Governance) 6 ประการ ได้แก่ หลักนิติธรรมหรือ ความชอบธรรม (just) หลักคุณธรรม หรือ ความยุติธรรม (fair) หลักความโปร่งใส (transparent) หลักความรับผิดชอบ หรือ การตรวจสอบได้ (accountable) และสนองตอบต่อความต้องการ ของประชาชน(responsive to people's needs) หลักความมีส่วนร่วม (participatory) โดยมี ความเป็นประชาธิปไตย (democratic) หลักความคุ้มค่า (highest benefits)

  16. องค์การในอนาคต องค์การที่กำลังจะเป็นอดีต การบริหารงานและองค์การในอดีตกับในอนาคต • โครงสร้างเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา • ตำแหน่งมีความชัดเจนน้อยลง มักกำหนดกันเองและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา • เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม จัดองค์การ เป็นแนวราบมากขึ้น • อำนาจมาจากความรู้ • ใช้วิธีการทำงานเป็นทีม เหลื่อมหน้าที่ กันมากขึ้น • ก้าวหน้าโดยการสะสมความรู้ โยกย้าย ในแนวราบมากขึ้น • มีความรู้ในธุรกิจการงานมากขึ้น • มีวิสัยทัศน์มองระยะยาว มุ่งภารกิจ รู้ทันโลกและมองกว้างไกล • โครงสร้างค่อนข้างจะตายตัว • กำหนดหน้าที่รับผิดชอบและตำแหน่ง ชัดเจน • เน้นการบริหาร/ควบคุมจัดองค์การเป็น แนวตั้ง • อำนาจยึดโยงกับตำแหน่งตามลำดับขั้น บังคับบัญชา • งานสำเร็จด้วยการส่งไม้แบบวิ่งผลัด 4 คูณ 100 เข้าเส้นชัย • ก้าวหน้าโดยการสะสมตำแหน่งโยกย้าย สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ • เชี่ยวชาญตามความชำนาญในหน้าที่ • ตั้งรับเน้นการนำแผนโครงการเพื่อเพิ่มคน เพิ่มเงินแก้ปัญหาตามหน้าที่

  17. โครงสร้าง เป้าหมาย ค่านิยม การบริหารจัดการ เทคนิคเฉพาะทาง และเทคโนโลยี คน องค์การ สภาพแวดล้อม ภายนอก

  18. องค์การ สภาพแวดล้อมภายในองค์การ เริ่มวิเคราะห์จากปัจจัยนำเข้า (4M: คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ การจัดการ) การบริหารงานตำรวจ การดำเนินการโดยใช้ POLC สภาพแวดล้อม ภายนอก

  19. ทฤษฎีระบบ (Systems theory) สภาพแวดล้อมภายนอก กระบวนการ ปัจจัยนำเข้า ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลย้อนกลับ สภาพแวดล้อมภายใน

  20. การดำเนินการโดยใช้ POLC P: Planning การวางแผน การตัดสินใจทางการบริหาร การวางแผน การบริหารเชิงกลยุทธ์

  21. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ 1. วิเคราะห์สภาพการณ์ 7. ประเมินผล 2. วิเคราะห์ปัญหา 6. ดำเนินการ 3. พัฒนาทางเลือก 5. วางแผนดำเนินงาน 4. ประเมินทางเลือก

  22. O: Organizing การจัดองค์การ การออกแบบองค์การในภาวะแห่ง การเปลี่ยนแปลง (โครงสร้างองค์การ) การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์

  23. L: Leading การนำและการบังคับบัญชา ภาวะผู้นำในองค์การ การจูงใจ การสื่อสารในองค์การ ทีมในองค์การ

  24. C: Controlling การควบคุม แนวคิดในการประเมินผล • ควบคุม เครื่องมือในการบริหาร

  25. เครื่องมือในการบริหารเครื่องมือในการบริหาร การบริหารคุณภาพทั้งระบบ (TQM • Total Quality Management) การบริหารอย่างสมดุล (Balanced Scorecard) (การเงิน ลูกค้า กระบวนการภายใน การเรียนรู้และพัฒนา) และตัวชี้วัดการปฏิบัติงานหลัก (KPI • Key Performance Indicators) ซิก ซิกม่า (Six Sigma) การเปรียบเทียบ (Benchmarking) การปรับปรุงความรู้ขององค์การ (Learning Organization)

  26. คำถาม

  27. หลักและกลยุทธ์การทำงานหลักและกลยุทธ์การทำงาน แนวทางการเลื่อนตำแหน่งฐานะให้เจริญก้าวหน้า ต้องรอบรู้ ปัญหา สารพัด ต้องรวดเร็ว เร่งรัด งานทั้งหลาย ต้องริเริ่ม หลายแบบ ให้แยบคาย ต้องทุ่มใจ สุดชีวิต พิชิตงาน ต้องรู้งาน รู้คน รู้หน้าที่ กฎเกณฑ์มี นโยบาย ใส่ประสาน รู้วิชา ก้าวหน้า ประกอบงาน สถานการณ์ นอกใน รู้ให้ดี

  28. หลักและกลยุทธ์การทำงานหลักและกลยุทธ์การทำงาน แนวทางการเลื่อนตำแหน่งฐานะให้เจริญก้าวหน้า ต้องรวดเร็ว ในด้าน ปฏิบัติ ต้องเร่งรัด บริการ ขมันขมี แก้ปัญหา เฉพาะหน้า ทันท่วงที ต้องช่วยชี้ วินิจฉัย ให้เจ้านาย ต้องริเริ่ม นำวิชา มาประยุกต์ ให้ประหยัด มีประโยชน์ ดังมุ่งหมาย ประสิทธิภาพ ผลงาน ย่อมมากมาย คงจะได้ สองขั้น กันทุกปี

  29. จบการบรรยาย Goodluck

More Related