1 / 78

การบริหารความเสี่ยง Strategic Risk Management

แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2551. การบริหารความเสี่ยง Strategic Risk Management. ดร.สุรพงษ์ มาลี หัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนทางยุทธศาสตร์ สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.).

nansen
Download Presentation

การบริหารความเสี่ยง Strategic Risk Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ2551 การบริหารความเสี่ยงStrategic Risk Management ดร.สุรพงษ์ มาลี หัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนทางยุทธศาสตร์ สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)

  2. เป้าประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการเป้าประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ • เพื่อสร้างความรู้ความเข้าในเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง • เพื่อทบทวนผลการบริหารความเสี่ยง และระบุปัจจัยเสี่ยง และประเมินความเสี่ยง • เพื่อจัดทำแผนบริหารและแนวทางการติดตามผลการบริหารความเสี่ยง ตามกรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  3. บทบาทของรัฐในการจัดการความเสี่ยงบทบาทของรัฐในการจัดการความเสี่ยง ความเสี่ยงจากภัยเทคโนโลยี และภัยทางสังคม ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ Regulatory roles Stewardship roles Management roles ความเสี่ยงจากนโยบายและการดำเนินงาน

  4. ทำไมต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงทำไมต้องมีระบบบริหารความเสี่ยง • เป็นส่วนหนึ่งของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • สอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรฐาน การควบคุมภายใน 2544 และการตรวจราชการแนวใหม่ • เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • เพิ่มโอกาสและช่วยให้ส่วนราชการบรรลุเป้าประสงค์และพันธกิจที่ตั้งไว้มากยิ่งขึ้น (ลด Surprises) • พัฒนาผลงานขององค์กร เช่น การพัฒนาคุณภาพการส่งมอบบริการให้ประชาชน การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น

  5. เป้าประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ เป้าประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารความเสี่ยง เข้าใจและระบุ/จำแนกความเสี่ยงในส่วนราชการได้ เข้าใจและประเมินความเสี่ยงในส่วนราชการได้ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของส่วนราชการได้ มีแนวทางในการติดตามและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง

  6. วิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการวิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ • การบรรยาย สลับกับการทำกิจกรรมกลุ่ม และการนำเสนอ ผลงานของกลุ่ม • กิจกรรมในแต่ละขั้นตอนมีความสัมพันธ์กัน ผลของการทำ กิจกรรมขั้นตอนแรก ต้องนำไปใช้ในกิจกรรมในขั้นตอน ต่อๆไป

  7. ความเสี่ยง (Risk )คืออะไร โอกาส/เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่จะส่งผลกระทบ ทำให้เป้าประสงค์ของหน่วยงานเบี่ยงเบนไป หรือเกิดความไม่แน่นอนในการบริหารงาน อันอาจทำให้เกิดความเสียหาย

  8. ความหมายของความเสี่ยง ตามคำรับรองฯ เหตุการณ์/การกระทำใดๆที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความล้มเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายตามภารกิจหลักที่กำหนดในกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2551ของส่วนราชการ

  9. องค์ประกอบของความเสี่ยงองค์ประกอบของความเสี่ยง • ความไม่แน่นอนว่าผลลัพธ์จะเกิดขึ้นตามที่ตั้งเป้าหมาย ไว้หรือไม่ • การกระทำหรือเหตุการณ์ที่อาจจะมีผลบั่นทอน • ความสามารถขององค์กรที่จะบรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ • การกระทำหรือเหตุการณ์ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งโอกาส หรือสิ่งคุกคาม (เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์) • กินความถึงแนวโน้มหรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบหากเหตุการณ์อุบัติขึ้นจริง

  10. ความสัมพันธ์ของเป้าประสงค์ ความเสี่ยง และการควบคุม เป้าประสงค์ สิ่งที่ส่วนราชการต้องการบรรลุ สิ่งที่อาจขัดขวางหรือเป็นอุปสรรค ทำให้ส่วนราชการไม่สามารถบรรลุ เป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ ความเสี่ยง สิ่งที่จะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุ เป้าประสงค์ได้ หากมีการบริหาร จัดการที่ดี การควบคุม

  11. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) คืออะไร • กระบวนการระบุหาความเสี่ยงที่สำคัญขององค์กร ประเมินผลกระทบของความเสี่ยงพัฒนาแนวทางการจัดการกับความเสี่ยงและนำไปปฏิบัติ อย่างเป็นระบบ โดยมีการบูรณาการและเน้นความสอดคล้องระหว่างกลยุทธ์ บุคลากร กระบวนงานและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มคุณค่าสูงสุดให้กับองค์การ • กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการระบุหาและควบคุมความเสี่ยง ซึ่งมีผลกระทบต่อการบรรลุพันธกิจและเป้าประสงค์ขององค์กร

  12. การบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใครการบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใคร ทุกคนเกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงในฐานะที่ เป็นผู้ระบุว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างในหน่วยงาน/ โครงการหรืองานของตน ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน เจ้าของหรือเจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Owners) ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน เจ้าของโครงการ/เจ้าของงาน ผู้ที่ได้รับมอบหมายเฉพาะ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง(RiskManagement and Review Committee)

  13. เจ้าของ/เจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Ownership) • มีการตกลงและมอบหมายการเป็นเจ้าภาพความเสี่ยงอย่าง เป็นทางการ • อาจไม่ใช่คนที่รับผิดชอบการประเมินความเสี่ยงก็ได้แต่ต้อง เป็นคนที่สามารถติดตามดูแลให้มีการบริหารความเสี่ยง อย่างมีประสิทธิภาพ • ต้องมีความชัดเจนว่าใครทำหน้าที่อะไร • ใครเป็นผู้กำหนดนโยบายว่าส่วนราชการจะรับความเสี่ยงได้แค่ไหน • ใครรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยงในแต่ละระดับ • ใครรับผิดชอบแต่ละกระบวนการ/ขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยง • ใครดูแลการนำมาตรการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ • ใครดูแล กรณีที่เป็นความเสี่ยงร่วม (Interdependent risks)

  14. การกำหนดกรอบนโยบายการบริหารความเสี่ยงการกำหนดกรอบนโยบายการบริหารความเสี่ยง • กำหนดกรอบนโยบายการบริหารความเสี่ยง จาก • ข้อกำหนดทางกฎหมาย ระเบียบ นโยบาย • ระบุความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย • กำหนดวิสัยทัศน์ของการบริหารความเสี่ยง (Risk Vision Statement) • มีแนวทางในการระบุ ประเมิน และรายงานด้านความเสี่ยง • กำหนดเป้าหมาย และระบุอุปสรรคของการบริหารความเสี่ยง • กำหนดแนวทางการประเมินผลความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง ตามมาตรฐานคุณภาพ • ระบุเจ้าภาพความเสี่ยง • สื่อสารกรอบนโยบายที่ชัดเจนให้ทั่วถึงทั้งองค์กร

  15. ประโยชน์ของบริหารความเสี่ยงประโยชน์ของบริหารความเสี่ยง • ประโยชน์ด้านยุทธศาสตร์ขององค์กร (Strategic Benefits) • ประโยชน์ด้านการเงิน(Financial Benefits) • ประโยชน์ต่อการบริหารแผนงานโครงการ(Programme Benefits) • ประโยชน์ต่อกระบวนงาน (Business Process Benefits) • ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการโดยรวม(Overall Management Benefits)

  16. วงจรการบริการความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์วงจรการบริการความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ Identify the risks and define a framework Evaluate the risks Embed and review Assess risk appetite Gain Assurance About the effectiveness Identify Suitable responses to risk

  17. กระบวนการบริการความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์กระบวนการบริการความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ Reviewing and reporting risks Identifying risks Communication and learning Addressing risks Assessing risks

  18. R I S K 3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ 1. กำหนดเป้าประสงค์ที่ต้องบรรลุ 2. ระบุความเสี่ยงที่จะทำให้ ไม่บรรลุเป้าประสงค์ Risk Management System 1 2 3. ประเมินโอกาส ผลกระทบและความรุนแรงของความเสี่ยง 4 4. ทำแผนจัดการกับความเสี่ยง 5. การติดตามสอบทาน/สื่อสาร

  19. ขั้นตอนที่1 การระบุและจำแนกความเสี่ยง Risk Identification

  20. คุณมองเห็นอะไร?

  21. การสร้างคุณค่าและความแตกต่างในผลงานการสร้างคุณค่าและความแตกต่างในผลงาน Practical Needs Personal Needs

  22. การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กรการระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กร • สำรวจว่ามีความเสี่ยงใดที่อาจทำให้การทำงานไม่ เป็นไปตามเป้าประสงค์ของส่วนราชการหรือหน่วยงาน (Risks must be identifiedin relation to strategic objectives) • จำแนกความเสี่ยงนั้นๆ ว่าเกิดขึ้นในระดับใดและ เป็นความเสี่ยงประเภทใด (อาจใช้ตารางMatrix) • จัดทำ/เขียนRisk Statement ซึ่งระบุสาเหตุของความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น(What, Why and How Things can arise)

  23. การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงในองค์กร (ต่อ) • การระบุหาและจำแนกความเสี่ยงอาจใช้ • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • เจ้าภาพ/เจ้าของความเสี่ยง ประเมินโดยใช้ (Risk Self- Assessment) • การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ • สร้างความมั่นใจว่าผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง และข้าราชการทุกคน เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ระบุ (ไม่ควรใช้การลงคะแนนหากไม่จำเป็น ควรใช้การอภิปรายรับ ฟังความคิดเห็น) • เก็บข้อมูลความเสี่ยงอย่างเป็นระบบเพื่อง่ายแก่การทบทวน และการจัดทำ Risk Registers and Risk Profile

  24. ลำดับชั้นของความเสี่ยงลำดับชั้นของความเสี่ยง ระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Risk) Strategic decision Decisions transferring strategy into action ระดับแผนงาน/โครงการ (Programme Risk) ระดับความไม่แน่นอน Decisions Required for implementation ระดับกิจกรรมและงานปฏิบัติ (Operational Risk)

  25. ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงภายนอก External Risk ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง Reputation/ Moral/Ethical Risk ความเสี่ยงด้านความ ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม Safety & Environment Risk ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ Compliance Risk • ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) • ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operation Risk) • ความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคล (Human Resource Risk)

  26. การจำแนกประเภทของความเสี่ยงในส่วนราชการการจำแนกประเภทของความเสี่ยงในส่วนราชการ

  27. กิจกรรมที่ 1 จำแนกความเสี่ยงในส่วนราชการของท่าน • แบ่งกลุ่ม (อาจแบ่งตามยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน) • ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อ • ค้นหาและจำแนกสิ่งที่ท่านคิดว่าเป็น “ความเสี่ยง” ของหน่วยงานของท่าน • อภิปรายเพื่อให้มั่นใจสมาชิกทุกคนในกลุ่มเข้าใจ “ความเสี่ยง”ที่ระบุตรงกัน • สรุปความเสี่ยงในแบบฟอร์มที่แจก • เตรียมการนำเสนอ

  28. การระบุและจำแนกประเภทของความเสี่ยงในส่วนราชการการระบุและจำแนกประเภทของความเสี่ยงในส่วนราชการ

  29. การจำแนกประเภทของความเสี่ยงในส่วนราชการการจำแนกประเภทของความเสี่ยงในส่วนราชการ

  30. ขั้นตอนที่2 การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment

  31. R I ความรุนแรงของผลกระทบ (Consequence/Impact ) ความเป็นไปได้ของโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) S K Trade off ระดับความเข้มข้นของ การควบคุม/การตรวจสอบ (Internal Control) Trade off หลักการประเมินความเสี่ยง Balance

  32. การวิเคราะห์โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงการวิเคราะห์โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง โอกาส/ความน่าจะเป็น/ แนวโน้มที่จะเกิดความเสี่ยง (Probabilities/Likelihood) ผลหรือระดับของผลกระทบ หากความเสี่ยงเกิดขึ้นจริง (Impacts) ระดับของความเสี่ยง ในส่วนราชการ เชิงคุณภาพ: ใช้คำพูดอธิบายโอกาส และผลกระทบ (Qualitative Analysis) เชิงกึ่งคุณภาพ: มีการกำหนดค่าให้กับ Ranking Scale แต่ไม่ใช่ค่าจริงๆของความเสี่ยง (Semi-Qualitative Analysis) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ: มีการกำหนดค่าที่เป็นตัวเลขซึ่งสะท้อนค่าโอกาส และผลกระทบอย่างชัดเจน (Qualitative Analysis)

  33. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง(Risk Assessment)

  34. หลักเกณฑ์การประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง( Likelihood)

  35. หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)หลักเกณฑ์การประเมินผลกระทบจากความเสี่ยง(Impact)

  36. การจัดทำแผนภูมิความเสี่ยงการจัดทำแผนภูมิความเสี่ยง ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผลกระทบ ความน่าจะเป็น/โอกาส

  37. การจัดทำRisk Map: Risk/Tolerance Matrix 4 3 ผลกระทบ 2 1 1 2 3 4 ความน่าจะเป็น/โอกาส

  38. กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง • แบ่งกลุ่ม (อาจแบ่งตามหน่วยงาน)และอภิปราย • ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อ • นำประเด็นความเสี่ยงที่ระบุในขั้นตอนก่อนหน้ามาวิเคราะห์โอกาสและความเสี่ยง • จัดทำแผนที่ความเสี่ยง (Risk Map) • หาค่าความเสี่ยงซึ่งวิกฤติ โดยนำคะแนนโอกาสและความเสี่ยงมาคูณกัน (ผลกระทบ x โอกาส) • สรุปผลการวิเคราะห์ในแบบฟอร์มที่แจก

  39. การจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง(Risk Prioritisation) 1.การประเมินประสิทธิผล ของการควบคุม ความเสี่ยงในปัจจุบัน 2.โอกาสและความสามารถ ที่จะปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง 3.ระยะเวลาที่จะสามารถ เริ่มลงมือปฏิบัติ ลำดับความสำคัญ ของความเสี่ยง ในส่วนราชการ

  40. 1.การประเมินประสิทธิผลการควบคุมความเสี่ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน1.การประเมินประสิทธิผลการควบคุมความเสี่ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน คำถามหลัก: ในปัจจุบันมีระบบและมาตรการการควบคุมความเสี่ยงอยู่หรือไม่ และมีประสิทธิผลในการลดโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด

  41. 2.การประเมินโอกาสและความสามารถในการปรับปรุงความเสี่ยง2.การประเมินโอกาสและความสามารถในการปรับปรุงความเสี่ยง คำถามหลัก: จะสามารถปรับปรุง หรือมีวิธีอื่นใดที่จะปรับปรุงระบบและมาตรการการควบคุมความเสี่ยงที่อยู่ได้หรือไม่(ทั้งโดยหน่วยงานตนเอง หน่วยสนับสนุน หรือร่วมมือกับหน่วยอื่นๆ(Opportunity to Improve)

  42. 3.การประเมินกรอบเวลาในการปรับปรุงความเสี่ยง3.การประเมินกรอบเวลาในการปรับปรุงความเสี่ยง คำถามหลัก: จะสามารถนำระบบและมาตรการควบคุมความเสี่ยงไปปฏิบัติได้ทันทีหรือย้องต้องรอเวลาที่เหมาะสม รอความพร้อม หรือรองบประมาณ (Time Scale for Action)

  43. 3.การจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง( Risk Prioritisation) ลำดับความสำคัญของความเสี่ยง= โอกาสที่จะเกิด X ผลกระทบ X โอกาสและความสามารถในการปรับปรุงความเสี่ยง X กรอบเวลาในการปรับปรุงความเสี่ยง

  44. กิจกรรมที่ 3 การจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง • แบ่งกลุ่ม (อาจแบ่งตามหน่วยงาน)และอภิปราย • ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อ • นำค่าความเสี่ยงวิกฤติ ซึ่งคำนวณจาก(ผลกระทบ x โอกาส) ในกิจกรรมที่ 2 มาพิจารณาร่วมกับโอกาสและความสามารถ ในการปรับปรุงความเสี่ยง และกรอบระยะเวลาในการลงมือปฏิบัติ • สรุปผลการวิเคราะห์ในแบบฟอร์มที่แจก และเตรียมการนำเสนอกลุ่มละ3-5 นาที

  45. ขั้นตอนที่3 การจัดการกับความเสี่ยง Risk Responses

  46. หลักการจัดการกับความเสี่ยง(Address Risk Responses) ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Pre-Event Control ลดผลกระทบของความเสี่ยง Post- Event Control Emerging Opportunity แสวงหาประโยชน์จากความเสี่ยง

  47. 5Ts of Risk Management R I 1.Tolerate การยอมรับความเสี่ยง S K 2.Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง 4.Terminate การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 5.Take การฉวยใช้ประโยชน์ 3.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง

  48. หลักการจัดการกับความเสี่ยง(Addressing Risk Responses)

  49. การจัดการความเสี่ยงกับการควบคุมภายในการจัดการความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน • การจัดการความเสี่ยง มีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนความไม่ แน่นอน(Uncertainty)ให้เป็นผลประโยชน์ (Benefits) ของส่วนราชการ โดยฉกฉวยโอกาสที่เกิดขึ้น • มาตรการหรือการกระทำทุกอย่างของส่วนราชการใน การจัดการความเสี่ยง ถือเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุม ภายใน(Any action that is taken by the organisation to address a risk forms part of what is known as ‘internal control’.

  50. วิธีการควบคุมความเสี่ยงตามหลักการควบคุมภายใน:ก่อนวิธีการควบคุมความเสี่ยงตามหลักการควบคุมภายใน:ก่อน

More Related