1 / 61

0511 908 Educational Standards and Quality Assurance

0511 908 Educational Standards and Quality Assurance . by Mr. Bhayubhong Bhayuhah : 53010560007 Ms. Thanyatorn Sriwichien : 53010560005 Mr. Seng Sary : 53010560016. ISO 9000 series , ISO 9001: 2008 , ISO 14000 , ISO 18000 , P.S.O. ISO มาจากไหน ?

nan
Download Presentation

0511 908 Educational Standards and Quality Assurance

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 0511 908Educational Standards and Quality Assurance by Mr. BhayubhongBhayuhah : 53010560007 Ms. ThanyatornSriwichien : 53010560005 Mr. SengSary : 53010560016

  2. ISO 9000 series, ISO 9001: 2008, ISO 14000, ISO 18000,P.S.O.

  3. ISOมาจากไหน? ISOไม่ได้มาจากตัวย่อขององค์การมาตรฐานสากล (InternationalOrganizationforStandardization) แต่มาจากคำในภาษากรีกว่า “ISOS” แปลว่า เท่ากัน (เช่น isobar, isotobe,isometric,isomer,…) จึงหมายถึง..เจตนารมย์ขององค์การที่ต้องการสร้างมาตรฐานให้เท่าเทียมเหมือนกันทั่วโลก

  4. ISOคืออะไร? องค์กรอิสระแห่งหนึ่ง ชื่อว่า (InternationalOrganizationforStandardization - ISO)ซึ่ง ISO ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490 สำนักงานใหญ่ ISO ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีสมาชิกอยู่ 162 ประเทศ (ประเทศไทยเป็นสมาชิกประเภทที่ 1:Full member) วัตถุประสงค์....เพื่อส่งเสริมการกำหนดมาตรฐานและกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยให้การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเป็นไปโดยสะดวก และช่วยพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ โดยมาตรฐานที่กำหนดจากองค์กรนี้ถือได้ว่าเป็น มาตรฐานระหว่างประเทศ (InternationalStandards)

  5. ในปี 2000 ISOได้พัฒนามาตรฐานมาแล้วกว่า 13,000 มาตรฐาน เช่น -มาตรฐานของฟิล์มถ่ายภาพ ISO 100, 200, 400-ตัวเลข ISBN ที่ปกในของหนังสือเพื่อบอก หัวเรื่องและคำสำคัญ - ด้านสิ่งแวดล้อม ฯลฯ

  6. ทำไมต้องเป็น ISO 9000…? ISO ไม่ใช่มีเพียง ISO 9000 (เกี่ยวกับระบบคุณภาพ) เพียงอย่างเดียว มีอีกหลายเลข เช่น ISO 14000 (เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม) หรือISO 18000 (เกี่ยวกับความปลอดภัย) เป็นต้น ที่ได้เลข 9000 เป็นเพราะตัวเลขลำดับที่ของมาตรฐาน ถึงเลข 9000 เป็นเรื่องของระบบคุณภาพ

  7. ISO 9000 ไม่ได้เน้นเรื่องสินค้า แต่เน้นเรื่องกระบวนการเพื่อทำให้มั่นใจได้ว่าทำอย่างไรที่จะทำให้สินค้าของเราทุกชิ้นได้ผ่านกระบวนการที่เหมือนกัน เช่น สมมติว่าเราผลิตน้ำดื่มตรา มมส.. เราได้รับการประกันคุณภาพด้วยระบบ ISO 9000 จาก สรอ. อย่าลืมว่า ISO 9000 ไม่ได้ประกันว่าภายในน้ำขวดนั้นจะต้องมีแร่ธาตุต่างๆ ตามที่กำหนดหรือไม่ เพียง ISO 9000 เน้นว่าเราจะต้องผลิตอย่างไร ด้วยกระบวนการใด จึงจะทำให้น้ำขวดมีคุณภาพเท่าๆ กันทุกขวด ไม่ว่าจะเลือกขวดที่หนึ่ง หรือขวดที่หนึ่งพัน ไม่ใช่ว่าขวดแรกดื่มไปมีรสหวาน อีกขวดมีรสเค็ม เป็นต้น

  8. ISO 9000 ประกาศใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987)และได้มีการปรับปรุงในปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) ต่อมาทุกๆ 5 ปีจะมีการทบทวนมาตรฐาน เพื่อปรับปรุงให้สมกับเหตุการณ์ปัจจุบัน และทำให้มีประโยชน์มากขึ้น จึงปรับปรุงในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ขณะนี้ ISO ได้ประกาศใช้ ISO 9001:2008 ซึ่งประกาศใช้ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)

  9. รหัส ISO ISO 9000 กำหนดมาตรฐานสากลสำหรับการบริหารคุณภาพ ในด้านการผลิตสินค้า และการให้บริการ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารคุณภาพของงานให้ดีขึ้น ISO 9001 เป็นระบบการประกันคุณภาพให้การออกแบบและการพัฒนาการผลิตการติดตั้ง และการให้บริการ ISO 9002 เป็นการประกันการผลิต การติดตั้งคล้ายคลึงกับ 9001 แต่มีความเข้มงวด น้อยกว่า ที่ไม่ต้องเข้มงวดในการออกแบบและการให้บริการ ISO9003 เป็นการประกันคุณภาพในการตรวจสอบขั้นสุดท้าย มาตรฐานนี้จะเข้มงวดเฉพาะในขั้นตอนการตรวจสอบ การทดสอบผลิตภัณฑ์ที่จะส่งมอบเท่านั้น ISO9004 เป็นข้อเสนอแนะการบริหารงานคุณภาพ และการบริหารงานในระบบ คุณภาพอื่น ๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ตลอดจะแนวทางการใช้งานด้านผลิตภัณฑ์และการให้บริการ

  10. ค.ศ.1987 ISO 9001, ISO 9002, ISO 9003 - 20 ข้อเหมือนเดิม - เพิ่มเนิ้อหาบางส่วน - ทำตามที่เขียนเขียนตามที่ทำ - ยังไม่ได้กำหนดวิธีปฏิบัติ ค.ศ.1994 ISO 9001, ISO 9002, ISO 9003 * ลดข้อกำหนดเหลือ 8 ข้อ * เปลี่ยนให้เข้ากับ TQM ให้มากขึ้น * ต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง * บอกวิธีการปฏิบัติมากขึ้น ค.ศ.2000 ISO 9001

  11. Minor Change โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาหัวข้อ 4.1, 4.2.1, 4.2.3f, 6.2, 6.3, 6.4, 7.3.1, 7.5.2, 7.6, 8.2.3, 8.2.4 (รวม 11 หัวข้อ) ISO 9001:2000 ISO 9001:2008 ค.ศ. 2008 ***เริ่มประกาศใช้ 15 พฤศจิกายน 2551***

  12. แนวคิด ISO 9001 เวอร์ชั่นใหม่ 2008 ที่กำลังทบทวนกันสำหรับมาตรฐานการจัดการทางด้านคุณภาพ ในปัจจุบัน มาตรฐาน ISO 9001เวอร์ชั่น 2008 ได้รับการประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2551 ประมาณการว่ามีใบรับรอง ISO 9001 มากกว่า 1 ล้านฉบับทั้งอุตสาหกรรมการผลิตและบริการใน 170 ประเทศ ทั้งนี้มาตรฐานฉบับใหม่ (ISO 9001:2008, 4th edition) ไม่ได้กำหนดให้ต้องมีการตรวจประเมินระบบการจัดการใหม่ (recertification) เนื่องจากเนื้อหาของข้อกำหนดเป็นเพียงการขยายความในบางข้อให้มีความชัดเจนทั้งในด้านการมุ่งเน้นที่ลูกค้าเพื่อสะท้อนถึงการพัฒนาระบบคุณภาพจากมาตรฐานฉบับเดิม

  13. แนวคิด ISO 9001 เวอร์ชั่นใหม่ 2008 ที่กำลังทบทวนกันสำหรับมาตรฐานการจัดการทางด้านคุณภาพ (ต่อ) รวมทั้งเป็นการปรับเพื่อให้สอดคล้องกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 ด้วย สำหรับแนวทางในการประยุกต์ใช้ข้อกำหนดซึ่งปัจจุบันอ้างอิงจากมาตรฐาน ISO 9004:2000 ก็อยู่ระหว่างการปรับปรุงและคาดว่าจะประกาศใช้ในปี 2009 หรือ 2010 รายละเอียดการปรับเปลี่ยนที่สำคัญบางข้อกำหนดมีดังต่อไปนี้

  14. ระบบของมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000เกิดจากกิจกรรมคุณภาพ ระบบของมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 นั้น เกิดจากกิจกรรมคุณภาพ 3 ส่วน 1. การวางแผน เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้มาตรฐานรู้จักกำหนดจุดมุ่งหมาย อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบและเข้าใจเรื่องคุณภาพ 2. การควบคุม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้มาตรฐานทำตามเงื่อนไปที่กำหนดไว้ รวมทั้งคาดการณ์ถึงปัญหา หาทางหลีกเลี่ยงหรือการวางแผนแก้ปัญหาและลงมือแก้ไข 3. การจัดทำเอกสาร เพื่อให้แน่ใจว่าผู้มาตรฐานเข้าใจวัตถุประสงค์ และวิธีการ มีการดำเนินการที่ราบรื่น มีหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเพื่อให้ลูกค้าหรือผู้ประเมินซึ่งเป็นบุคคลที่สามารถตรวจสอบได้

  15. ลักษณะสำคัญของ ISO 9000 1. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ไม่บังคับ 2. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ใช้ได้ทั่วโลก 3. ISO 9000 เป็นมาตรฐานซึ่งเป็นความต้องการของตลาด 4. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับระบบการบริหาร คุณภาพเพื่อทำให้ลูกค้าพอใจ 5. ISO 9000 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพที่สามารถนำไปใช้ได้ กับธุรกิจทุกประเภท

  16. ลักษณะสำคัญของ ISO 9000 6. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เน้นเรื่องหลักฐานด้านเอกสารการปฏิบัติงาน 7. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่เปิดโอกาสให้มีการปรับปรุงแก้ไขขั้นตอน 8. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ให้การับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ทั้งองค์การ 9. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ระบุให้มีการตรวจประเมินโดยบุคคลที่ 3 10. ISO 9000 เป็นมาตรฐานที่ทุกหน่วยงานของระบบบริหารงานคุณภาพ และพนักงานที่รับผิดชอบทุกคนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

  17. ISO 9001:2008 ระบบบริหารงานคุณภาพ กับการปรับเปลี่ยน เวอร์ชั่นใหม่ความเป็นมา ที่มาสำหรับมาตรฐานระบบการจัดการที่เป็นสากลที่นำมาใช้ในปัจจุบัน มากมายหลายมาตรฐาน ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ หรือที่หลายคนทราบคือ ISO 9001 ซึ่งเป็น Version ปี 2000 ซึ่งได้ถูกกำหนดโดยองค์กรที่เรียกว่า International Organization for Standardization และมาตรฐานนี้ได้นำมาใช้ปฏิบัติภายในองค์กรและมีตรวจประเมินเพื่อการรับรองโดยหน่วยงานตรวจรับรองต่างๆ สำหรับมาตรฐานระบบการจัดการด้านคุณภาพ ISO 9001 นี้จะต้องถูกทบทวน โดยคณะกรรมการของ ISO เองอย่างน้อยทุกๆ 5 ปี

  18. ข้อดีของ ISO 9001:2008 1. เพิ่มความชัดเจนจากมาตรฐานฉบับเดิม 2. ประยุกต์ใช้กับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 ได้ง่าย 3. ยังคงความสอดคล้องกับอนุกรมมาตรฐาน ISO 90004. เพิ่มการขยายความในบางข้อกำหนด ผลบังคับใช้ ISO 9001:2000 ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008 ประกาศ / ตีพิมพ์เป็นระยะเวลา 1 ปี ใบรับรองทั้งหมดที่ออก (ออกใบรับรองครั้งแรกหรือต่ออายุ) จะต้องออกตามมาตรฐาน ISO 9001:2008ภายหลังจากมาตรฐาน ISO 9001:2008 ประกาศ / ตีพิมพ์เป็นระยะเวลา 2 ปี การรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2000 ถือเป็นอันสิ้นสุด

  19. Continuous improvement? Deming’s wheel (P.D.C.A.) PLAN DO PLAN DO PLAN DO ACT CHECK ACT CHECK ACT CHECK ISO 9000 Continuous Improvement

  20. ประโยชน์ของการจัดทำมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 1 ประโยชน์ต่อองค์การ 2. ประโยชน์ต่อลูกค้า 3. ประโยชน์ต่อพนักงานลูกจ้าง

  21. ISO 9001:2008 Audit Guide ISO9001:2008, Quality management system 1. General requirements ข้อกำหนดทั่วไป 2. Documentation requirements ข้อกำหนดเกี่ยวข้องกับเอกสาร 2.1 General 2.2 Quality manual 2.3 Control of document 2.4 Control of records

  22. ISO9001:2008, ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร (Management responsibility) 1. ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร (Management commitment ) 2. การให้ความสำคัญกับลูกค้า (Customer focus ) 3. นโยบายคุณภาพ ( Quality Policy) 4. การวางแผน (Planning) 5. อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และการสื่อสาร (Responsibility, authority and communication ) 6. การทบทวนของผู้บริหาร (Management review)

  23. ISO9001:2008, Resource management การบริหารทรัพยากร 1. Provision of resources การจัดให้มีทรัพยากร2. Human resources ทรัพยากรบุคคล 3. Infrastructure โครงสร้างพื้นฐาน4. Work environment สภาพแวดล้อมในการทำงาน

  24. ISO9001:2008, Product realization 1. Planning of product realization การก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์2. Customer-related processes กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 3. Design and development การออกแบบและพัฒนา 4. Purchasing การจัดซื้อ5. Production and service provision การดำเนินการผลิตและบริการ6. Control of monitoring and measuring equipment การควบคุมเครื่องมือ เฝ้าติดตาม และตรวจวัด

  25. ISO9001:2008, Measurement, analysis and improvement 1. บททั่วไป (General)2. การเฝ้าติดตามและการตรวจวัด (Monitoring and measurement)3. การควบคุมผลิตภัณฑ์ ที่ไม่สอดคล้อง (Control of nonconforming product)4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data)5. การพัฒนา(Improvement) 5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual improvement) 5.2 การปฏิบัติการแก้ไข (Corrective action) 5.3 การปฏิบัติการป้องกัน (Preventive action)

  26. ISO 14000: Environment Management Systems(EMS) • กำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม • การวางแผน(ด้านสิ่งแวดล้อม,กฎหมาย,วัตถุประสงค์,โประแกรมฯ) • เริ่มปฏิบัติและดำเนินการ(โครงสร้างและการรับผิดชอบ,การฝึกอบรม,การสื่อสารข้อมูล,การควบคุมเอกสาร,การควบคุมการดำเนินการ,การเตรียมการในกรณีฉุกเฉิน) • การติดตามผลและการแก้ไข(การติดตามผลและการวัดค่า, การแก้ไขและป้องกัน, การเก็บข้อมูล, การตรวจสอบ) • การพิจารณาโดยผู้บริหาร

  27. ISO 14000: Environment Management Systems(EMS) ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14010 แนวทางการตรวจประเมิน ISO 14020-25 ฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อม ISO 14031 การวัดผลการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14040-14048 การประเมินวงจรชีวิตของ ผลิตภัณฑ์

  28. ISO 14000 ISO 14050 คำศัพท์การจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14061 ข้อมูลการใช้มาตรฐานระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000และ ISO 14004 สำหรับองค์กร ทางด้านป่าไม้ ISO Guide 64 คู่มือการรวมประเด็นด้าน สิ่งแวดล้อมไว้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์

  29. ISO 14001มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม(เป็นมาตรฐานเดียว)บริษัทขอรับรองผ่านการตรวจสอบจากหน่วยงานอิสระที่ได้รับการรับรองแล้ว ไม่ได้เป็นมาตรฐานบังคับตามกฎหมาย แต่เป็นการสมัครใจ ต้องปฏิบัติสม่ำเสมอ สิ่งแวดล้อมดีขึ้น เป็นระบบบริหารความเสี่ยง ประหยัดค่าใช้จ่าย สร้างภาพลักษณ์ที่ดี ได้เปรียบคู่แข่งทางธุรกิจ มีแรงจูงใจให้พนักงานทุกคนร่วมจัดการสิ่งแวดล้อม

  30. ISO 14000 ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14010 แนวทางการตรวจประเมิน ISO 14020-25 ฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อม ISO 14031 การวัดผลการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14040-14048 การประเมินวงจรชีวิตของ ผลิตภัณฑ์

  31. ISO 14001 และ ISO 9001 ถูกกำหนดโดยองค์กรเดียวกันและใช้หลักในการจัดการระบบการทำงาน (Management Policy) ที่เป็นที่แพร่หลายเช่น ระบบควบคุมคุณภาพโดยรวม(Total Quality Management) จึงทำให้องค์กรที่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐาน ISO 9001 สามารถทำให้องค์กรของตนเป็นไปตามมาตรฐาน ISO 14001 ควบคู่กันไปโดยไม่ยาก

  32. ประโยชน์ต่อองค์กรในการทำ ISO 14000 1. ช่วยลดต้นทุนในระยะยาว 2. เพิ่มโอกาสในด้านการค้า ทำให้การเจรจาทางด้านการค้าสะดวกยิ่งขึ้น 3. สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กร 4. ได้รับเครื่องหมายรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม องค์กรที่นำมาตรฐาน ISO 14000 ไปปฏิบัติ สามารถขอให้ หน่วยงานรับรองให้การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะทำให้องค์กรสามารถนำไปใช้ ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน ภาพลักษณ์ขององค์กรให้ดีขึ้น

  33. ISO 18000 มาตรฐาน ISO 18000 คืออะไร ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 18000 เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดทำระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย(Occupational health and safety management system standards)

  34. การพัฒนาปรับปรุงระบบให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ 1. ลดความเสี่ยงต่ออันตรายและอุบัติเหตุต่าง ๆ ของพนักงานและผู้เกี่ยวข้อง 2. ปรับปรุงการดำเนินงานของธุรกิจให้เกิดความปลอดภัย 3. ช่วยสร้างภาพพจน์ความรับผิดชอบขององค์กรต่อพนักงานภายในองค์กรต่อ องค์กรเอง และต่อสังคม

  35. ขั้นตอนหลักในการจัดทำระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ขั้นตอนหลักในการจัดทำระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1. การทบทวนสถานะเริ่มต้น 2. นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3. การวางแผน 4. การนำไปใช้และการปฏิบัติ 5. การตรวจสอบและแก้ไข 6. การทบทวนการจัดการ

  36. ประโยชน์การใช้มาตรฐาน ISO 18000 ในการดำเนินงาน ประโยชน์สูงสุดนั้น มีองค์ประกอบดังนี้ • ผู้บริหารระดับสูงมีความมุ่งมั่นและตั้งใจแน่วแน่ในการนำระบบมาใช้และให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง • ทุกคนในองค์กรมีความเข้าใจ ให้ความสำคัญ มีส่วนร่วมและ ให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง • ได้รับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอ • มีการติดตามและปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง

  37. ประโยชน์การจัดทำตามมาตรฐาน ISO 18000 • รักษาและป้องกันชีวิตและทรัพย์สินอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุอันอาจเกิดขึ้นในองค์กร • เป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับอุบัติเหตุ และภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะช่วย ลดความเสียหาย และความสูญเสียทั้งด้านชีวิตและทรัพย์สิน • ลดรายจ่ายเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทนเนื่องจากอุบัติเหตุลดลง • สร้างขวัญและกำลังใจแก่พนักงานให้เกิดความเชื่อมั่นในความปลอดภัยต่อชีวิต

  38. ประโยชน์การจัดทำตามมาตรฐาน ISO 18000 5. ได้รับเครื่องหมายรับรองฯองค์กรสามารถนำไปใช้ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กรให้ดียิ่งขึ้นและ เป็นที่ยอมรับในสังคม 6. เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การแข่งขันทางด้านการค้าในตลาดโลก

  39. P.S.O.

  40. P.S.O. (Thailand International and Public Sector Standard Management System and Outcomes: P.S.O.) ระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทยด้านการจัดการ และสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ

  41. ที่มาของมาตรฐาน P.S.O. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2540กำหนดนโยบายให้จัดทำและพัฒนาระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทยด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ (P.S.O.)ในทุกส่วนราชการ โดยให้สำนักงบประมาณสนับสนุนเงินงบประมาณให้แก่ส่วนราชการ ตามความจำเป็นและให้สำนักงาน ก.พ. ร่วมกับคณะกรรมการว่าด้วยการปฎิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานของรัฐ

  42. ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ส่วนราชการ ในการส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทย ทั้งนี้แนวทางและวิธีการพัฒนาระบบ P.S.O.เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ พ.ศ. 2543

  43. วัตถุประสงค์ P.S.O. การทำมาตรฐาน P.S.O.มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์โดยรวม ของภาคราชการทั้งระบบและเน้นให้หน่วยงานภาครัฐพัฒนามาตรฐาน ใน 2 ด้าน คือ ด้านการจัดการ (Management System) และด้านสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงาน (Outcomes) โดยมีเป้าหมายเป็นผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์บั้นปลาย(Ultimate outcomes)

  44. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 75 รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จัดระบบงานของกระบวนการยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพและอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนอย่างรวดเร็วและเท่าเทียมกัน รวมทั้งจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่นให้มีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน

  45. เป้าหมายของ P.S.O.มุ่งการบรรลุผลลัพธ์บั้นปลาย - ประสิทธิภาพของหน่วยราชการ - คุณภาพและความถูกต้องของการบริการ- ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ความทั่วถึงในการให้บริการ- ความพึงพอใจของประชาชน- ความประหยัดของภาครัฐและประชาชนผู้มารับ บริการ - สิทธิและเสรีภาพ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน- ประโยชน์สาธารณะ ความผาสุก และคุณภาพชีวิตของประชาชน

  46. แนวคิดหลักของ P.S.O. 1. ส่งเสริมประสิทธิภาพและมาตรฐานการปฎิบัติเพื่อประชาชน 2. สร้างระบบราชการให้เกิด ธรรมาภิบาย (Good Governance) 3. สนองตอบเจตนารมณ์และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 7 4. เป็นนโยบายของรัฐเชิงนวัตกรรม (Innovative Public Policy) 5. พัฒนามาตรฐานภาครัฐเพื่อเข้าสู่ระบบสากล 6. เป็นเกียรติภูมิของประเทศในการมีมาตรฐานของภาคราชการ ของประเทศไทยเอง 7. เป็นแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ

  47. ความหมายของ P.S.O. มาตรฐาน P.S.O. หรือ ระบบมาตรฐานสากล ของประเทศไทย ด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ (Thailand International Public Sector Standard Management System and Outcomes : P.S.O.) หมายถึง ระบบมาตรฐานคุณภาพหรือการประกันคุณภาพ ที่ได้รับการออกแบบให้เหมาะสมกับระบบราชการไทย

  48. ลักษณะของP.S.O. ลักษณะของP.S.O.มาตรฐานสากลภาครัฐ(P.S.O)เป็นนวัตกรรมใหม่ของประเทศ ไทยซึ่งเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบมาตรฐาน การจัดการและสัมฤทธิ์ผลภาครัฐ โดยแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนแรก ได้แก่ระบบมาตรฐานคุณภาพด้านการบริหารจัดการ ส่วนที่สอง ได้แก่มาตรฐานสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติ คือ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลลัพธ์บั้นปลายและระบบป้องกันผลลัพธ์บั้นปลายที่ไม่พึงปรารถนา

  49. คุณลักษณะที่สำคัญของระบบมาตรฐาน P.S.O. 1. มุ่งเน้นสัมฤทธิ์ผลของภาคราชการทั้งระบบ (ขณะที่ ISO เป็นเรื่องจุลภาคเน้นองค์การภาคเอกชนเฉพาะองค์การ) 2. มุ่งผลลัพธ์เชิงสัมฤทธิ์ผลบั้นปลาย (Ultimate Outcomes)เน้นประชาชนผู้รับบริการเป็นสำคัญ ส่งเสริมภาคีความร่วมมือ 3. มุ่งการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการปฏิบัติงานของภาครัฐ 4. เน้นประชาชนผู้รับบริการเป็นสำคัญ ส่งเสริมภาคีความร่วมมือ 5. ยืดหยุ่น เปิดกว้าง สามารถบูรณาการร่วมกับระบบมาตรฐานอื่น ๆ 6. มาตรฐานบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชนและชุมชน

More Related