1 / 59

ประเด็นนำเสนอ

ประเด็นนำเสนอ. มณฑา เปี่ยมจิตต์ เจ้าพนักงานการคลังชำนาญงาน สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี. 1. ความหมายของ GFMIS 2. วัตถุประสงค์ของ GFMIS 3. หลักการและขอบเขตของระบบ GFMIS 4. ระบบงานของ GFMIS 5. การตรวจสอบ การดูรายงาน 6. รหัสงบประมาณ 7. การใช้งานระบบ GFMIS 8. ประโยชน์ของ GFMIS.

morrison
Download Presentation

ประเด็นนำเสนอ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นนำเสนอ มณฑา เปี่ยมจิตต์ เจ้าพนักงานการคลังชำนาญงาน สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี

  2. 1. ความหมายของ GFMIS 2. วัตถุประสงค์ของ GFMIS 3. หลักการและขอบเขตของระบบ GFMIS 4. ระบบงานของ GFMIS 5. การตรวจสอบ การดูรายงาน 6. รหัสงบประมาณ 7. การใช้งานระบบ GFMIS 8. ประโยชน์ของ GFMIS

  3. ระบบGFMIS(Goverment Fiscal Management Information System) คือโครงการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐให้มี ความทันสมัยและมีประสิทธิภาพโดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย มาประยุกต์ใช้เพื่อปรับกระบวนการดำเนินการและการจัดการภาครัฐ ด้านงบประมาณ การบัญชี การจัดซื้อจัดจ้างการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ และการบริหารทรัพยากรบุคคลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับนโยบายการปฏิรูประบบราชการที่เน้นประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการดำเนินงานของภาครัฐ

  4. หลักการและขอบเขตของระบบ GFMIS • หลักการและขอบเขตของระบบ GFMIS จะประกอบด้วยงาน 2 ด้านหลัก ได้แก่     1.ระบบด้านปฏิบัติการ หรือ Operation System ซึ่งรองรับโดย Software SAP R/3 ประกอบด้วยงานด้านระบบการบริหารงบประมาณ การรับ-จ่ายและติดตามการใช้งบประมาณ บัญชีแบบเกณฑ์คงค้าง บัญชีทรัพย์สินถาวร บัญชีต้นทุน บัญชีบริหาร การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารเงินสดและเงินคงคลัง ตลอดจนข้อมูลบุคคล    2.ระบบข้อมูลด้านการบริหาร หรือ Business Warehouse ซึ่งรองรับโดย Software SAP BW ประกอบด้วยข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนและตัดสินใจ ได้แก่ ข้อมูลเพื่อการบริหารด้านการเงินการคลังแบบ Online Real Time สำหรับนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดีกรม ผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้บริหารด้านการเงิน

  5. ระบบ GFMIS • ระบบ GFMIS จะแบ่งออกเป็น 5 ระบบงาน ดังนี้ 1. ระบบบริหารงบประมาณ เป็นการรับข้อมูลการอนุมัติงบประมาณจากระบบ BIS ของสำนักงบประมาณ แต่การเปลี่ยนแปลงหรือการจัดสรรเงินจะทำในระบบ GFMIS โดยข้อมูลดังกล่าวจะเชื่อมโยงกับระบบอื่น ๆ เช่น ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบเบิกจ่ายเงิน ระบบบัญชี เป็นต้น ( FM ) 2. ระบบจัดซื้อจัดจ้าง เป็นการบันทึกการจัดซื้อ จัดจ้าง โดยระบบจะเชื่อมโยงกับระบบงบประมาณ เพื่อตรวจสอบวงเงินงบประมาณ และเชื่อมโยงกับระบบสินทรัพย์ถาวรกรณีที่เป็นการจัดซื้อสินทรัพย์ถาวรมูลค่าตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป ( PO )

  6. 3. ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย 5 ระบบย่อย คือ ระบบการเบิกจ่ายเงิน ระบบการรับและนำส่งเงิน ระบบบริหารเงินสด ระบบบัญชีแยกประเภท และระบบสินทรัพย์ถาวร ( FI ) 4. ระบบบัญชีต้นทุน เป็นระบบที่จะให้ข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยหน่วยงานต้องกำหนดโครงสร้างภายในหน่วยงานเป็นศูนย์ต้นทุน ศูนย์กำไร งานหลัก งานสนับสนุน และกิจกรรม เพื่อรองรับข้อมูลในส่วนที่เป็นค่าใช้จ่าย และกำหนดเกณฑ์การปันส่วนต้นทุน เพื่อใช้เป็นหลักในการปันส่วนต้นทุนให้ แต่ละผลผลิตที่เกี่ยวข้อง ( CO ) 5. ระบบบริหารบุคคล เป็นระบบที่รับข้อมูลบุคลากรสำหรับข้าราชการพลเรือนสามัญ โดยรับข้อมูลการเปลี่ยนแปลงข้าราชการ การฝึกอบรม และการปรับโครงสร้างองค์กรจากส่วนราชการ และรับข้อมูลเงินบัญชีถือจ่ายจากกรมบัญชีกลาง ( HR )

  7. - เป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับผู้บริหารของแต่ละกรม  ช่วยอำนวย ความสะดวกและลดเวลาในการจัดทำรายงานการเงิน  การคลัง การ ปิดบัญชีประจำวัน  เดือน และ ปี - เพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนบริหารติดตามการรับจ่ายทั้งเงินใน งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ - รองรับการปฎิบัติงานในระบบบัญชีแบบเกณฑ์คงค้างที่สอดคล้องกับ มาตรฐานบัญชีสากล 

  8. - ช่วยในการบริหารและจัดทำทะเบียนสินทรัพย์ถาวรรายตัว ( Fixed  Asset ) ที่ถูกจัดเก็บและคำนวณ ค่าเสื่อมราคาในระบบตลอดอายุสินทรัพย์ - ปรับปรุงขั้นตอน  วีธีการ  เพิ่มความรวดเร็ว ลดเอกสาร ลดระยะเวลาในการรับจ่าย เงิน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคจากการใช้เงินสดและเช็คเป็นหลักในปัจจุบันเป็นการรับจ่ายแบบอิเล็กทรอนิกส์ ( e-Receipt / Payment ) ที่ใช้การโอนเงินเข้าสู่บัญชีคู่สัญญา    บัญชีส่วนราชการและบัญชีเงินคงคลัง เพื่อเข้าสู่มิติใหม่ ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน / ผู้ขาย อันทำให้ต้นทุนของผู้ขายและราคาสินค้าพัสดุลดลงในที่สุด

  9. สร้างข้อมูลหลักผู้ขายสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย ขั้นตอนการดำเนินงาน บันทึก PO บันทึกตรวจรับ บันทึกตั้งเบิก - ค้นหาข้อมูลหลักผู้ขาย -บันทึกตรวจรับ - บันทึกใบสั่งจ้าง - ค่าใช้จ่าย - สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย - บันทึกยกเลิกตรวจรับ - วัสดุคงคลัง - สร้างแบบอนุมัติ/ขอเปลี่ยนแปลงพร้อมสำเนาหลักฐานที่เกี่ยวข้องสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย - พักสินทรัพย์ - เปลี่ยนแปลง/แก้ไขใบสั่งซื้อ/จ้าง

  10. ดำเนินการ หน่วยรับผิดชอบ หน่วยผู้เบิก บันทึกรายการขอเบิกในระบบ ตรวจสอบและอนุมัติรายการขอเบิกสั่งจ่ายผ่านระบบ ธ.แห่งประเทศไทย กรมบัญชีกลาง โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากผู้รับเงิน ธ.แห่งประเทศไทย บัญชีเจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ บัญชีหน่วยงาน

  11. หน่วยรับผิดชอบ GFMIS กรมบัญชีกลาง/คลังจังหวัด ธนาคาร ส่วนราชการส่วนกลาง/ภูมิภาค รับข้อมูลจาการบันทึกรับ/นำส่งเงินจากหน่วยงานทาง GF 1.การรับเงิน ข้อมูลการรับ/นำส่งเงิน - รับเงิน - ออกใบเสร็จ 2. บันทึกข้อมูล เพิ่มยอดบัญชีเงินคงคลัง ธ.กรุงไทย 3.นำส่งเงิน ข้อมูลการรับ/นำส่งเงิน 4.บันทึกข้อมูลนำส่ง หน่วยงาน เรียกดูรายงาน

  12. การควบคุมรายงานทางการเงินการควบคุมรายงานทางการเงิน > ทะเบียนคุมการใช้รหัสผ่าน (แยกเป็นเล่มตามสิทธิ) > ทะเบียนคุมการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย > ทะเบียนคุมการใช้สิทธิบัตรเพื่อสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย > ทะเบียนคุมงบประมาณรายจ่าย > หรือทะเบียนคุมเงินประจำงวดส่วนจังหวัด > ทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิก > ทะเบียนคุมเลขที่เอกสารขอเบิกเงิน > ทะเบียนคุมการขอเบิกเงิน > ทะเบียนคุมการรับและนำส่งเงิน > ทะเบียนคุมเลขที่เอกสารการรับและนำส่งเงิน

  13. 1. การจัดซื้อจัดจ้าง • รายงานเอกสารจากระบบ SAP R/3 (แบบ บส. 01) หรือ ZINF_R09 • ของคำสั่งงาน ME21N, MIGO • - เอกสารจัดซื้อได้จากเครื่อง GFMIS Terminal ได้เลข 4 • - เอกสารจัดซื้อได้จาก Web Online ได้เลข 5 • - เอกสารจัดซื้อได้จาก Excel Loader ได้เลข 5 • * ต้นเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง (ใบสั่งซื้อ / สั่งจ้าง / สัญญา / ข้อตกลง) • * การเปลี่ยนแปลงข้อมูลหลักผู้ขาย/ใบขออนุมัติข้อมูลหลักผู้ขาย

  14. 2. การเบิกจ่ายเงิน 2.1 กรณีจ่ายตรงผู้ขาย * รายงานเอกสารจากระบบ SAP R/3 หรือ ZINF_R09 - แบบ บส. 01 หรือ ME21N - แบบ บร.01 หรือ MIGO - แบบ ขบ.01 หรือ ZMIRO_KA , K.. * ต้นเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง (ใบสั่งซื้อ / สั่งจ้าง / สัญญา / ข้อตกลง) * ใบตรวจรับของที่กรรมการลงนามแล้ว * ใบเสร็จรับเงินของเจ้าหนี้ หรือ เรียกรายงานการจ่ายชำระเงินจากระบบ ZAP_RPT506

  15. 2.2 กรณีขอเบิกเข้าหน่วยงาน • รายงานเอกสารจากระบบ SAP R/3 หรือ ZINF_R09 • - แบบ ขบ. 02 หรือ แบบ ขบ 03 หรือ ZFB60_K.. • - แบบ ขจ. 05 หรือ ZF_53_PM (เชื่อมโยงกับ Bank Statement) • * หลักฐานการจ่ายเงิน

  16. 3. การเบิกเกินส่งคืน * รายงานเอกสารจากระบบ SAP R/3 หรือ ZINF_R09 - แบบ บช 01 หรือ ZGL_BD/ZGL_BE.. - แบบ นส 02-1/ นส 02-2 และใบนำฝากเงิน ZRP_R6 , R7 * สำเนาใบเสร็จรับเงิน (ถ้ามี)

  17. 4. การรับและนำส่งเงิน * รายงานเอกสารจากระบบ SAP R/3 หรือ ZINF_R09 - แบบ นส 01 หรือ ZRP_RA , _RB… - แบบ นส 02-1/ นส 02-2 หรือ ZRP_R1 , R2 * สำเนาใบนำฝากเงินที่ได้รับจากธนาคารกรุงไทย

  18. 5. การบัญชี * รายงานเอกสารจากระบบ SAP R/3 (แบบ บช 01 หรือ ZGL_J….) JV = การปรับปรุงบัญชีแยกประเภทที่ไม่เกี่ยวข้องกับตัวเงิน JR = การปรับปรุงบัญชีเงินสดหรือเงินฝากธนาคาร JM = การปรับปรุงวัสดุคงคลัง RE = การรับเงินนอกงบประมาณที่ไม่ฝากคลัง PP = การจ่ายเงินนอกงบประมาณที่ไม่ฝากคลัง

  19. การตรวจสอบรายงานต่าง ๆ ระบบงบประมาณ * รายงานสถานการณ์ใช้จ่ายงบประมาณ ZFMA46 / F10C * รายงานแสดงยอดงบประมาณตามหน่วยรับงบประมาณ ZFMA55 ระบบจัดซื้อจัดจ้าง * แบบขออนุมัติ / เปลี่ยนแปลง ข้อมูลหลักผู้ขาย * รายงานติดตามสถานะใบสั่งซื้อสั่งจ้าง ZMM_ME2N ระบบเบิกจ่าย * รายงานสถานการณ์เบิกจ่ายเงิน ZAP_RPT503 / G53C * รายงานสรุปรายการขอเบิก ZAP_RPTW01 / A06C ระบบรับและนำส่งเงิน * รายงานจัดเก็บและนำส่งของหน่วยงาน ZRP_R06 / R02M ระบบบัญชีแยกประเภท * รายงานเงินสดคงเหลือประจำวัน ZGL_CASHBAL / G14C * รายงานเคลื่อนไหวเงินฝากคลัง ZGL_RPT013 / G21C * รายงานแสดงยอดวัสดุคงเหลือ ZGL_R02 / G05C * รายงานงบทดลอง ZGL_MVT_MONTH / G12C

  20. การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณการบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณ 1.1การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง(อ้างอิงจาก ขบ+บรรทัดรายการค่าใช้จ่าย) - เลือกเมนูแบบ บช.01 ประเภทเอกสาร BD Dr เงินสด 1101010101 Cr เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง 2116010104 1.2 การบันทึกข้อมูลนำส่งเงิน(อ้างอิงเลขที่เอกสารจาก บช.01 BD) - เลือกเมนูแบบ นส.02-1 ประเภทเอกสาร R1 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง - เลือกเมนูแบบ บช.01 ประเภทเอกสาร BE Dr เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง Cr ค่าใช้จ่าย 1. กรณีเงินงบประมาณ

  21. การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณการบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณ 3.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง - เลือกเมนูแบบ บช.01 ประเภทเอกสาร BD Dr เงินสด 1101010101 Crเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง 2116010104 3.2 การบันทึกข้อมูลนำส่งเงิน - เลือกเมนูแบบ นส.02-1 ประเภทเอกสาร R2 3.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง - เลือกเมนูแบบ บช.01 ประเภทเอกสาร BE 2. กรณีเงินนอกงบประมาณ Dr เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง Cr ค่าใช้จ่าย

  22. การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณการบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณ 1. กรณีเงินงบประมาณ

  23. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ เอกสารขอเบิกเงิน

  24. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  25. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  26. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  27. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  28. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  29. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  30. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  31. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  32. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.1 การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  33. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.2 การบันทึกรายการนำส่งเงิน

  34. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.2 การบันทึกรายการนำส่งเงิน

  35. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.2 การบันทึกรายการนำส่งเงิน

  36. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.2 การบันทึกรายการนำส่งเงิน

  37. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.2 การบันทึกรายการนำส่งเงิน

  38. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.2 การบันทึกรายการนำส่งเงิน

  39. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  40. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  41. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  42. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  43. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  44. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  45. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  46. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  47. การเบิกเกินส่งคืนข้ามปี กรณีเงินงบประมาณ 1.3 การบันทึกรายการล้างเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง

  48. การล้างลูกหนี้เงินยืมการล้างลูกหนี้เงินยืม ในปีงบประมาณ

  49. บันทึกรายการขอเบิกเงินยืมบันทึกรายการขอเบิกเงินยืม (ขบ 02, ขบ03) ลูกหนี้เงินยืม ตัด รับเงินจากคลัง บันทึกรายการขอจ่ายเงิน (ขจ 05) งบประมาณ จ่ายเงินให้ยืม ลูกหนี้รับ/ส่งใช้เงินยืม บันทึกล้างเงินยืม เพิ่ม ส่งใบสำคัญ > เงินยืม 1.บันทึกล้างเงินยืม=เงินยืม (บช 01 ประเภทเอกสาร G1) 2. บันทึกรายการขอเบิก ส่งใบสำคัญ < เงินยืม 1.บันทึกล้างเงินยืม=เงินยืม (บช 01 ประเภทเอกสาร G1) 2. บันทึกเบิกเกินส่งคืน ส่งใบสำคัญ = เงินยืม 1.บันทึกล้างเงินยืม=เงินยื(บช 01 ประเภทเอกสาร G1) ตัด -บันทึกรับเงินเบิกเกินส่งคืน บช01 ประเภทเอกสาร BD ขออนุมัติจ่ายใบสำคัญ ที่ส่งสูงกว่าเงินยืม นำเงินส่งคืนที่ KTB -บันทึกรายการนำส่งเงิน นส02-1 R6/R7,RX(R1/R2) บันทึกรายการขอเบิกเงิน (ชดใช้ใบสำคัญ) กระทบยอดนำส่ง บันทึกล้างเงินยืม/เบิกเกิน บช01 ประเภทเอกสาร BE

  50. 1. การล้างลูกหนี้เงินยืม 1. 1 การล้างลูกหนี้เงินยืมเท่ากับใบสำคัญ

More Related