1 / 14

ทฤษฎีต้นทุนการผลิตและการประยุกต์

หน่วยที่ 5. ทฤษฎีต้นทุนการผลิตและการประยุกต์. ประโยชน์ของการศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุน 1. ช่วยในการคำนวณหากำไรหรือผลตอบแทนจากการผลิต 2. ช่วยในการลดต้นทุนการผลิต 3. ใช้นำมาวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุน 4. ใช้ในการกำหนดราคาหรือตั้งราคาสินค้า. ช่วงเวลาในการผลิต

Download Presentation

ทฤษฎีต้นทุนการผลิตและการประยุกต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 5 ทฤษฎีต้นทุนการผลิตและการประยุกต์

  2. ประโยชน์ของการศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุนประโยชน์ของการศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุน 1. ช่วยในการคำนวณหากำไรหรือผลตอบแทนจากการผลิต 2. ช่วยในการลดต้นทุนการผลิต 3. ใช้นำมาวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุน 4. ใช้ในการกำหนดราคาหรือตั้งราคาสินค้า

  3. ช่วงเวลาในการผลิต ระยะสั้น หมายถึง ช่วงการผลิตซึ่งมีการใช้ปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งปัจจัยร่วมกับปัจจัยผันแปรในการผลิต ระยะยาว หมายถึง ช่วงการผลิตที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ในกระบวนการผลิต จึงไม่มีปัจจัยคงที่

  4. ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น ต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนเฉลี่ย ต้นทุนเพิ่ม

  5. ต้นทุนการผลิตในระยะยาว ต้นทุนเพิ่ม ต้นทุนเฉลี่ย

  6. ฟังก์ชั่นต้นทุนการผลิตในระยะสั้นฟังก์ชั่นต้นทุนการผลิตในระยะสั้น ต้นทุนทั้งหมดขึ้นอยู่กับปริมาณการผลิต C = ต้นทุนการผลิตทั้งหมด r1r2=ราคาปัจจัยแปรผัน x1 และx2 A = ต้นทุนคงที่

  7. จุดการผลิตที่เหมาะสมในการผลิตเพื่อให้ต้นทุนต่ำสุดจุดการผลิตที่เหมาะสมในการผลิตเพื่อให้ต้นทุนต่ำสุด L = r1X1+ r2X2+A+q-F(X1, X2)  = Lagrangean multiplier L = Lagrangean equation เมื่อ และ

  8. ฟังก์ชั่นต้นทุนการผลิตในระยะยาวฟังก์ชั่นต้นทุนการผลิตในระยะยาว ตัวอย่าง

  9. TVC 0 Q TVC=3257+72Q-3Q2+7Q3 30

  10. TC=TFC+TVC TC=323,257+72Q-3Q2+7Q3

  11. ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นต้นทุนการผลิตระยะยาวกับระยะสั้นความสัมพันธ์ระหว่างเส้นต้นทุนการผลิตระยะยาวกับระยะสั้น STC3 LTC STC2 STC1 V T TC S ATC LMC SMC1 SMC3 MC SAC1 SAC3 SMC2 LAC SAC2 (จำนวนผลผลิต) 0 R

  12. AVP ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 MVP b a d e AVP c X (ปัจจัยการผลิต) 0 MVP เส้นอุปสงค์ของปัจจัยการผลิต เส้นอุปสงค์ของปัจจัยการผลิตจะอยู่ตั้งแต่จุด b ถึง c ผู้ผลิตจะใช้ปัจจัยการผลิต ณ จุดที่ MVP = ราคาปัจจัยการผลิต

  13. ต้นทุน ต้นทุน F D MC ATC LMC LAC AVC C E A B ผลผลิต ผลผลิต 0 0 ภาพที่ 5.5 เส้นอุปทานระยะสั้น ภาพที่ 5.6 เส้นอุปทานระยะยาว อุปทานของผลผลิต เส้นอุปทานระยะสั้นนับตั้งแต่จุด B เป็นต้นไป เส้นอุปทานระยะยาวนับตั้งแต่จุด E เป็นต้นไป

  14. ทฤษฏีคู่ ทฤษฎีคู่ได้ถูกพัฒนา และนำมาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ โดยทฤษฎีคู่ได้ชี้ให้เห็นถึงความต้องการคำตอบมากที่สุด (เช่น กำไรสูงสุด) หรือคำตอบที่น้อยที่สุด(ต่ำที่สุด) จะเป็นปัญหาคู่ หรือกล่าวว่าปัญหาเริ่มต้น (primal problem) และจะมีปัญหาแฝดหรือที่เรียกว่าปัญหาควบคู่ (dual problem) มาเสมอ เช่น Maximize u (X1,…Xn) Subject to ส่วนปัญหาคู่แฝดคือ Maximize E = Subject to u (X1,…Xn)

More Related