1 / 19

สื่อสังคมออนไลน์กับภัย คุกคาม

สื่อสังคมออนไลน์กับภัย คุกคาม. อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย. จำนวนประชากร 67 ล้านคน (2012, กสทช ) จำนวนผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต 24 ล้านคน (2012, เนคเทค ) International Bandwidth 293 Gbps (Jan 2012, เนคเทค ) จำนวนหมายเลขโทรศัพท์มือถือ 75 หมายเลข (2012, กสทช )

Download Presentation

สื่อสังคมออนไลน์กับภัย คุกคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สื่อสังคมออนไลน์กับภัยคุกคามสื่อสังคมออนไลน์กับภัยคุกคาม

  2. อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จำนวนประชากร 67 ล้านคน(2012, กสทช) จำนวนผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต 24 ล้านคน(2012, เนคเทค) International Bandwidth 293 Gbps (Jan 2012, เนคเทค) จำนวนหมายเลขโทรศัพท์มือถือ 75 หมายเลข (2012, กสทช) จำนวนผู้ใช้งาน Facebook15.95ล้านราย (ก.พ.2012, CheckFacebook) จำนวนผู้ใช้งานTwitter 0.91 ล้านราย (ก.พ. 2012)

  3. Social media • Social media หมายถึง สื่อหรือเครื่องมือที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูลระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล • การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน Social media มีความรวดเร็วและสะดวกสบายจึงทำให้เป็นที่นิยม • Social media ถูกใช้ในเชิงการตลาดมากขึ้นเรื่อย ๆ และหน่วยงานต่าง ๆ ก็นำมาใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ข่าวสาร • Social media ได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากความสะดวกในการเข้าถึงบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Facebook มีผู้ใช้เข้าถึงบริการจำนวน 160 ล้านรายต่อวัน)

  4. Social Network คืออะไร ประเภทของบริการ Social Network Social Network = people + Social Media คือเครือข่ายทางสังคมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มบุคคลที่สื่อสารกันผ่านสื่อสังคม (Social Media) เช่น Facebook Twitter LinkedIn Google+ ทำให้บุคคลที่อยู่ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล หรือทำกิจกรรมร่วมกันได้ 1. Blog : ระบบจัดการเนื้อหา ทำให้ผู้ใช้สามารถเขียนบทความ และ เผยแพร่บทความได้ 2. Microblog : เป็นรูปแบบหนึ่งของ blog แต่จำกัดตัวอักษรของการเขียนในแต่ละครั้ง Twitter 3. Social networking : เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างกัน เช่น FacebookGoogle+ LinkedIn เป็นต้น 4. Media sharing : เว็บไซต์ที่มีการแลกเปลี่ยนไฟล์ รูปภาพ วีดิโอ โดยการอัพโหลดข้อมูลเข้าไปในเว็บไซต์ เช่น YoutubeInstagramเป็นต้น 5. Social news and bookmarking : เป็นเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังบทความหรือเนื้อหาต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต 6. Forums : ถือเป็นรูปแบบของ social media ที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเสมือนสถานที่ที่ให้ผู้คนเข้ามาพูดคุยในหัวข้อที่พวกเขาสนใจ

  5. Social media มั่นใจว่าคนไทยเกิน 1 ล้านคน อยากมานครนายก ไข่คอนโดร้านช่อ มวง อร่อยมาก ฝนตกที่วังตระไคร้ ปีนี้ น้ำไม่ท่วมแน่ Social Network

  6. บริการฟรีไม่มีในโลกนี้บริการฟรีไม่มีในโลกนี้ If you are not paying for it, you are not the customer. You are the product. - ข้อมูลส่วนบุคคล ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ - รายชื่อคนรู้จัก เบอร์โทรศัพท์หรืออีเมลของเพื่อน - พฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต - ความสนใจพิเศษ - สถานที่อยู่ * ภาพทั้งหมดจากเว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต

  7. Social media กับ Barack Obama ประธานาธิบดีบารัก โอบามาชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดี ในปี 2008 ส่วนหนึ่งเป็นเพราะกลยุทธในการหาเสียงผ่านสังคมออนไลน์อย่าง Twitter และประธานาธิบดีโอบามา ก็เลือกที่จะประกาศป้องกันตำแหน่ง ในปี 2555 ผ่านทาง twitter และ Facebook ซึ่งการรณรงค์ หาเสียงตั้งแต่เนิ่น ๆ ของโอบามาในทวิตเตอร์นั้นเขาใช้แฮชแท็กว่า # Obama2012 • ความสำเร็จของการหาเสียงผ่าน Social media เกิดจาก • การหาเสียงที่พุ่งตรงไปยังมวลชนโดยตรง ลัดขั้นตอน • ของหัวคะแนนแบบเดิมๆ ไป • การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อสื่อสารและสร้างการมี • ส่วนร่วมกับผู้สนับสนุนของฝ่ายตน

  8. สถิติ Facebook สถิติในประเทศไทย จำนวนผู้ใช้งาน Facebook 15.95 ล้านราย สัดส่วนจำนวนผู้ใช้งาน Facebook ต่อจำนวนประชากร: 24.02% สัดส่วนจำนวนผู้ใช้งานFacebook ต่อจำนวนผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต 91.20% ข้อมูลจาก เว็บไซต์ http://analytics.socialbakers.com/

  9. นกน้อยทวีตเตอร์ Twitter มีคนไทยใช้ Twitter 909,631 คน (โดยประมาณจากคนที่ใช้เป็นประจำ) คนไทยส่งข้อความผ่านทวิตเตอร์ในปี 2011 จำนวน 122,311,329 ข้อความ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2011 (วันที่น้ำท่วมเริ่มเข้า 5 แยกลาดพร้าว) คือวันที่คนไทยส่งข้อความผ่านทวิตเตอร์มากที่สุด 3,239,307 ข้อความ เดือนพฤศจิกายน 2011 คือเดือนที่คนไทยส่งข้อความผ่านทวิตเตอร์มากที่สุดคือ รวม66,137,709 ข้อความ ข้อมูลจาก เว็บไซต์ http://blog.zocialinc.com/

  10. พฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดบน Social media • 40% ของผู้ใช้งาน เปิดเผยวันเดือนปีเกิด • 25% ของผู้ใช้งาน ไม่ทราบหรือตระหนักเกี่ยวกับการใช้งานอย่างปลอดภัย เช่น การตั้งรหัสผ่าน การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล • 9% ของผู้ใช้งาน ถูกภัยคุกคามจากสังคมออนไลน์ (ติดไวรัส, โดนหลอกลวง และโดนขโมยข้อมูลส่วนบุคคล) • ผู้ใช้งานบางส่วน ขาดวิจารณญาณในการเผยแพร่ในการแสดงความคิดเห็นส่งผลกระทบต่อการละเมิดกฎหมาย • เขียนแล้ว โพสแล้ว ลบไม่ได้ * จากการสำรวจของ เว็บไซต์ http://www.consumerreports.org

  11. 2 1 3

  12. มั่นใจว่าคนไทยเกิน 1 ล้าน * ภาพทั้งหมดจาก Fanpageบน Facebook

  13. พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนกับ อินเทอร์เน็ต และ Social Media • 44% ของเด็กยอมรับว่าได้เข้าถึงข้อมูลและสื่อประสม เช่น ภาพ วิดีโอ ที่ผู้ปกครองไม่อนุญาต และมีเพียง 28% ของผู้ปกครองทราบว่าเด็กสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมได้ • เด็กผู้หญิงมักมีพฤติกรรมในการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงรูปภาพของตนเองบนอินเทอร์เน็ตมากกว่าเด็กผู้ชาย • 22% ของเด็กหญิงยอมรับว่าได้เคยเผยแพร่ภาพไม่เหมาะสมของตนเองบนอินเทอร์เน็ต • 70% ของเด็ก อายุระหว่าง 7 ถึง 18 ปี เคยเข้าถึงเว็บไซต์ลามกอนาจารอย่างไม่ตั้งใจ และส่วนใหญ่เกิดจากค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตเพื่อทำการบ้าน • ลูกค้าของเว็บไซต์ลามกอนาจารส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุระหว่าง 12-17 ปี • 31% ของเด็กอายุระหว่าง 12-18 ปีให้ข้อมูลเท็จเรื่องอายุของตนเองเพื่อเข้าถึงบริการต่างๆบนเว็บไซต์ • 96% ของเด็กวัยรุ่นมีการใช้งาน Social media เช่น Facebook, MySpaceหรือ Online-Chat * จากการสำรวจของมหาวิทยาลัย New Hampshire เผยแพร่บน เว็บไซต์ http://www. guardchild.com

  14. ประเภท Social Media ที่ได้รับแจ้งว่าใช้ในการกระทำผิดด้านความมั่นคง • สถิติการรับแจ้งเหตุการกระทำความผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่าน Hotline 1212 ระหว่างเม.ย. 54 ถึง มี.ค. 55 • แจ้งเหตุการกระทำผิดทั้งหมด 2,096 เรื่อง • ด้านความมั่นคง 1,506 เรื่อง • เรื่องความมั่นคงจำนวน 1506 เรื่อง • 1070 เรื่อง (71%) บนบริการ Facebook • 308 เรื่อง (20%) บนบริการYoutube

  15. ตัวอย่างผลกระทบต่อสังคมและความมั่นคงจากการใช้ Social media ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ได้เกิดเหตุจลาจลครั้งใหญ่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสาเหตุเกิดจากการวิสามัญฆาตกรรมนายมาร์ค ดักแกนซึ่งประชาชนทั่วไปส่วนหนึ่งตั้งข้อสงสัยต่อการกระทำดังกล่าวและเกิดความไม่พอใจ มีการใช้ Social media เช่น Facebook Twitter และ BlackBerry Messenger เป็นเครื่องมือในการระดมผู้คนเพื่อก่อเหตุรุนแรงต่าง ๆ จนเกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบในเมืองอื่น ๆ ตามมา ทำให้มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ตลอดจนอาคารบ้านเรือนเสียหายเป็นจำนวนมาก ที่มา: http://arstechnica.com/tech-policy/2011/08/the-two-sides-of-social-networking-on-display-in-the-london-riots/

  16. Social media กับการก่อการร้าย จากการศึกษายังพบด้วยว่า Social media เป็นอีกหนึ่งช่องทางการสื่อสารของกลุ่มผู้ก่อการร้าย โดยถูกใช้ในการเผยแพร่ข่าวสารของกลุ่ม การสืบหาข่าวสารทางการเมืองและการทหาร การขอกำลังสนับสนุนทางด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ ไปจนถึงการหาแนวร่วมขบวนการ เช่น มีการขอคำแนะนำในการทำวัตถุระเบิดเพื่อใช้กับฝ่ายทหาร บนกระดานสนทนาในเว็บไซต์สาธารณะ ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างเปิดเผย จนกระทั่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกามีความคิดที่จะพัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลบน Social media เพื่อคาดการณ์การเกิดเหตุก่อการร้ายล่วงหน้า http://www.cbc.ca/news/technology/story/2012/01/10/tech-terrorist-social-media.html http://www.foxnews.com/politics/2012/02/12/us-government-looks-to-mine-social-media-to-combat-terrorist-attacks-uprisings/ ที่มา:

  17. ThaiCERT ทำอะไร วิเคราะห์ และประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาเชิงเทคนิค ในกรณีที่เกิดภัยในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของประเทศ พิสูจน์พยานหลักฐานทางดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการกระบวนการยุติธรรม ติดต่อไทยเซิร์ต www.thaicert.or.th

More Related