1 / 25

ประเด็นนำเสนอ :

การขับเคลื่อนนโยบายการวิจัยสู่การปฏิบัติ ระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ : ประสบการณ์และแนวทางการขับเคลื่อนในภาคเหนือ โดย รองศาสตราจารย์เพทาย พงษ์เพียจันทร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ประเด็นนำเสนอ :. การจัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555 – 2559) ภาคเหนือ

Download Presentation

ประเด็นนำเสนอ :

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนนโยบายการวิจัยสู่การปฏิบัติระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้:ประสบการณ์และแนวทางการขับเคลื่อนในภาคเหนือโดยรองศาสตราจารย์เพทาย พงษ์เพียจันทร์คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. ประเด็นนำเสนอ: • การจัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย (พ.ศ. 2555 – 2559) ภาคเหนือ • ประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) ในภาคเหนือ • แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2555 – 2559) ในภาคเหนือ • ข้อเสนอแนะแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555 – 2559) ระดับภูมิภาคที่เป็นรูปธรรม

  3. การจัดทำยุทธศาสตร์การวิจัย (2555 – 2559) ภาคเหนือแบบมีส่วนร่วม ระดมความคิดภาคีเครือข่ายวิจัย ราชการ+ท้องถิ่น+การศึกษา+ประชาชน+เอกชน เวทีกลุ่มจังหวัด อนุภูมิภาค ภูมิภาค ยกร่างยุทธศาสตร์ ภาคเหนือ เพิ่มเติมประเด็นวิจัยจากภาคเอกชน ยุทธศาสตร์การวิจัย (2555 – 2559) ภาคเหนือ ประชาพิจารณ์ 5 ยุทธศาสตร์การวิจัย 17 กลยุทธ์การวิจัย 47 แผนงานวิจัย

  4. ยุทธศาสตร์การวิจัยภาคเหนือ (2555 – 2559) ๑ สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนสู่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและอินโดจีน ๒ สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อ รองรับการพัฒนาเศรษฐกิจของภาคเหนือ ความขัดแย้งและการจัดการ

  5. ยุทธศาสตร์การวิจัยภาคเหนือ (2555 – 2559) ๓ สนับสนุนการใช้ภูมิปัญญาและวิทยาการสู่การพึ่งตนเองในการจัดการเมือง ชนบท และชายแดนภาคเหนือ ๔ สนับสนุนการดำรงฐานทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน วิถีวัฒนธรรม ชนบท เมือง ภูมิปัญญาท้องถิ่น วิทยาการและเทคโนโลยี ชายแดน พื้นที่สูง

  6. ยุทธศาสตร์การวิจัยภาคเหนือ (2555 – 2559) ๕ พัฒนาระบบกลไกบริหารเป็นภูมิคุ้มกันและสร้างความมั่นคงของท้องถิ่นและจังหวัดภาคเหนือ อบจ เทศบาล อบต.

  7. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยภาคเหนือ (2555 – 2559) สังคม สังคมผู้สูงอายุ ความขัดแย้ง หนี้สิน การกระจายรายได้ กลไกและ การขับเคลื่อน เทคโนโลยี ภูมิปัญญา เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ ตลาด ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มาตรการและการจัดการ ดิน น้ำ ป่า และอากาศ

  8. ประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ • ผลที่ได้ • ภาคีเครือข่ายวิจัย • แนวทางขับเคลื่อนและกลไกบริหารระดับจังหวัด

  9. ประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ ต้นแบบการขับเคลื่อนในจังหวัดเชียงราย ผลักดัน งบประมาณวิจัย ผู้ว่าฯ/รองผู้ว่าฯเป็นประธาน กรรมการมาจาก - ส่วนราชการ - องค์การบริหารท้องถิ่น (อบจ.) - ผู้แทนมหาวิทยาลัย - ผู้แทนองค์กรเอกชน - ภาคประชาชน กรรมการอำนวยการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์วิจัยฯ จังหวัด • งบยุทธศาสตร์จังหวัด • งบท้องถิ่น • วช. • แหล่งทุนอื่น กลุ่มงานวิจัย ของจังหวัด คณะทำงานขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์วิจัยฯ จังหวัด 10 คณะ ตามกลุ่มเรื่องเร่งด่วน - ส่วนราชการ - เทศบาล/อบต. - ผู้แทนมหาวิทยาลัย - ผู้แทนองค์กรเอกชน - ภาคประชาชน • ข้าราชการ • ปราชญ์ชาวบ้าน • ผู้นำชุมชน • นักวิชาการท้องถิ่น กลไกขับเคลื่อนในพื้นที่ สรุประเด็นวิจัยโซน • 1 จังหวัดแบ่งเป็น 4 โซน • แต่ละโซนมีผู้ประสานงานอำเภอ • แต่ละอำเภอมีคณะทำงานขับเคลื่อน • คัดเลือกมาจากตำบล สรุประเด็นวิจัยอำเภอ จัดเวทีประชาคมค้นหา ประเด็นความต้องการงานวิจัย ของท้องที่และท้องถิ่น สรุประเด็นวิจัยตำบล

  10. สรุปการขับเคลื่อนเพื่อเชื่อมโยงการวิจัยสู่การพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่นสรุปการขับเคลื่อนเพื่อเชื่อมโยงการวิจัยสู่การพัฒนาจังหวัดและท้องถิ่น Function คณะกรรมการอำนวยการ Agenda คณะทำงานกลุ่มเรื่องเร่งด่วน Area ภาคประชาสังคม

  11. แผนงานวิจัยจังหวัดเชียงราย เพื่อขับเคลื่อนในปี 2553 -2555 แผนงานวิจัยภูมิปัญญาสุขภาพพื้นบ้านสู่ทางเลือกในการดูแลสุขภาพ 1) การวิจัยภูมิปัญญาหมอเมืองและการพัฒนาศักยภาพหมอเมือง (หมอพื้นบ้าน) 2) การวิจัยและจัดการความรู้และพัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ ในการดูแลสุภาพ “ศูนย์ 3 หมอ” (หมอเมือง – หมออนามัย - หมอโรงพยาบาล) 3) การวิจัยและพัฒนายาสมุนไพรพื้นบ้าน แผนงานวิจัยระบบการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระดับ ลุ่มน้ำจังหวัดเชียงราย1) วิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเครือข่ายลุ่มน้ำเชียงราย2) วิจัยและพัฒนาการจัดการความรู้ การใช้เทคโนโลยี ภูมิปัญญาของภาคประชาชนอย่างมี ส่วนร่วมสู่การใช้ประโยชน์และจัดการข้อขัดแย้ง

  12. ผลงานวิจัยนำร่องที่ดำเนินการผลงานวิจัยนำร่องที่ดำเนินการ ในจังหวัดเชียงราย หมอเมืองหมู่บ้าน เครือข่ายหมอเมืองอำเภอ เครือข่ายหมอเมืองจังหวัด เครือข่ายหมอเมืองระหว่างจังหวัด

  13. ประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ การขับเคลื่อนจากจังหวัดต้นแบบสู่ภูมิภาค • ใช้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่าง วช. กับจังหวัด และ อบจ. เป็นเครื่องมือในการขยายผลการขับเคลื่อน

  14. ประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ การขับเคลื่อนจากจังหวัดต้นแบบสู่ภูมิภาค • ปี 2552 มีการลงนามใน MOU ไปแล้วดังนี้ • จังหวัดในภาคเหนือ 12 จังหวัด ได้แก่อุตรดิตถ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์พิษณุโลก ตาก สุโขทัย  กำแพงเพชร อุทัยธานี ลำพูน เชียงราย และลำปาง • องค์การบริหารส่วนจังหวัด 8 อบจ. ได้แก่ แพร่ แม่ฮ่องสอนนครสวรรค์ เชียงใหม่ พิษณุโลก น่าน อุทัยธานี และลำปาง

  15. ประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยประสบการณ์จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ การขับเคลื่อนจากจังหวัดต้นแบบสู่ภูมิภาค ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นไปคาดว่าจะสามารถผลักดันให้จังหวัดและอบจ. ทั้ง 17 พื้นที่ลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกับ วช. ได้ทั้งหมด และจะผลักดันให้ภาคเอกชน ทั้งหอการค้าจังหวัด และสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ทำบันทึกข้อตกลงกับ วช. ในอนาคต

  16. ข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ • การเชื่อมโยงและการสื่อสารระบบการสนับสนุนการวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค จังหวัด และท้องถิ่น • ระบบการยื่นข้อเสนอโครงการภายใต้งบวิจัยของหน่วยงานในระดับจังหวัดสู่ฐาน NRPM ของ วช. โดยตรง

  17. ข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ • การเชื่อมโยงและการสื่อสารระบบการสนับสนุนการวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค จังหวัด และท้องถิ่น • มีการจัดระบบงบประมาณการวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาคที่ชัดเจน

  18. ข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ • การเชื่อมโยงและการสื่อสารระบบการสนับสนุนการวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค จังหวัด และท้องถิ่น • เพิ่มการบูรณาการกับภาคเอกชน

  19. ข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ • การเชื่อมโยงและการสื่อสารระบบการสนับสนุนการวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค จังหวัด และท้องถิ่น • เพิ่มบทบาทของนักวิจัยชุมชน

  20. ข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยข้อควรพัฒนาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัย ของชาติ (พ.ศ. 2551 – 2554) สู่การปฏิบัติในภาคเหนือ • การเชื่อมโยงและการสื่อสารระบบการสนับสนุนการวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค จังหวัด และท้องถิ่น • การบูรณาการองค์ความรู้การวิจัยและหน่วยงานสนับสนุนการวิจัยสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ “ท้องถิ่นวิจัยได้ –ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย – และรับประโยชน์จากการวิจัย”

  21. ข้อเสนอแนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555 – 2559) ระดับภูมิภาคที่เป็นรูปธรรม • ควรส่งเสริมให้มีการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค • กำหนดให้มีวาระการขับเคลื่อนจากกรรมการระดับประเทศสู่ภูมิภาค • กำหนดให้มีกรรมการ วช. ระดับภูมิภาค จังหวัด อำเภอ และตำบล • วช.ภูมิภาค ขับเคลื่อนให้เกิดศูนย์ขับเคลื่อนการวิจัยระดับจังหวัด

  22. ข้อเสนอแนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555 – 2559) ระดับภูมิภาคที่เป็นรูปธรรม • ควรส่งเสริมให้มีการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค • ศูนย์ขับเคลื่อนการวิจัยระดับจังหวัดให้เกิดศูนย์ขับเคลื่อนระดับอำเภอ • ศูนย์ขับเคลื่อนระดับอำเภอผลักดันให้ อบต. ใช้ศูนย์เรียนรู้ อบต. ขับเคลื่อนการวิจัยสู่ชุมชน

  23. ข้อเสนอแนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555 – 2559) ระดับภูมิภาคที่เป็นรูปธรรม • ดัชนีชี้วัดยุทธศาสตร์การวิจัย: • จำนวนนักวิจัยชุมชน/ท้องถิ่น • งบประมาณวิจัยที่ส่วนราชการ และท้องถิ่นใช้ในการวิจัย • จำนวนเครือข่ายการวิจัยในระดับตำบลที่สามารถจัดการความรู้ แก้ปัญหาของท้องถิ่นและชุมชนได้เอง • จำนวนงานวิจัยในท้องถิ่นที่เกิดองค์ความรู้ที่ใช้แก้ปัญหา ศก. สังคม และสวล.

  24. ข้อเสนอแนวคิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555 – 2559) ระดับภูมิภาคที่เป็นรูปธรรม ข้อเสนอแนวทางการบริหารการวิจัยสู่ภูมิภาค = เกิดแล้ว = ยังไม่เกิด

  25. นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี สภาพัฒน์ สำนักงบประมาณ วช. กระทรวง ประเทศ สถาบันวิจัย อื่นๆ กรม กอง สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ศูนย์ประสานงานการขับเคลื่อนภูมิภาค (วช. ภูมิภาค) ราชการ ส่วนท้องถิ่น ปราชญ์ ระดับภาค นักวิจัยชุมชน นักวิจัยในระบบ สภาอุตสาหกรรม หอการค้า สมาคม ชมรมภูมิภาค ภูมิภาค สำนักงานยุทธศาสตร์จังหวัด ศูนย์ขับเคลื่อนงานวิจัยจังหวัดผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน นายก อบจ นายก ทบ. นายก อบต. ปราชญ์ ระดับจังหวัด นักวิจัยชุมชน นักวิจัยในระบบ สภาอุตสาหกรรม หอการค้า สมาคมจังหวัด จังหวัด นายก ทบ. นายก อบต. ปราชญ์ระดับอำเภอ นักวิจัยชุมชน นักวิจัยในระบบ เครือข่ายธุรกิจอำเภอ ศูนย์ขับเคลื่อนวิจัยอำเภอ นายอำเภอ ประธาน อำเภอ ราชการส่วนตำบล อำเภอ จังหวัด ตำบล ชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. ภูมิปัญญาท้องถิ่น นักวิจัยชุมชน นักวิจัยในระบบ กลุ่มธุรกิจ วิสาหกิจ OTOP ศูนย์เรียนรู้ตำบล นายก อบต. ประธาน ปัญหาและความต้องการงานวิจัย

More Related