1 / 14

การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร

การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2. เทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ. วัตถุประสงค์ในการตรวจวิเคราะห์. เพื่อนำผลวิเคราะห์ไปประกอบการขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร สำรวจวิจัยข้อมูล.

Download Presentation

การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่างการเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2

  2. เทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจเทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ

  3. วัตถุประสงค์ในการตรวจวิเคราะห์วัตถุประสงค์ในการตรวจวิเคราะห์ • เพื่อนำผลวิเคราะห์ไปประกอบการขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร • สำรวจวิจัยข้อมูล 2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหาร เครื่องดื่ม และน้ำบริโภค ว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุขหรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อหาสาเหตุด้านระบาดวิทยาอันเนื่องมาจากอาหาร 4. เพื่อให้ประชาชน ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร

  4. เชื้อโรคอาหารเป็นพิษ ที่ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ • E.coli • Staphylococcus aureus • Salmonella spp. • Clostridium perfringens • Bacillus cereus • Vibrio cholerae • Vibrio parahaemolyticus

  5. การเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจการเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ

  6. อุปกรณ์และภาชนะที่ใช้สุ่มเก็บตัวอย่างอุปกรณ์และภาชนะที่ใช้สุ่มเก็บตัวอย่าง 1. อุปกรณ์และภาชนะที่ปราศจากเชื้อ 2. อุปกรณ์และภาชนะที่ผู้ประกอบการใช้ 3. อุปกรณ์และภาชนะที่ผ่านการฆ่าเชื้อ ( ต้มหรือจุ่มใน 70%alcohol เผาไฟ ) 4. ใช้ถุงพลาสติกใหม่ ๆพลิกด้านในออก

  7. วิธีการสุ่มและเก็บตัวอย่างอาหารวิธีการสุ่มและเก็บตัวอย่างอาหาร 1. ให้เก็บตัวอย่างโดยวิธีสุ่ม ( Random Sampling ) ตามจำนวนหน่วย หรือปริมาณตามต้องการ โดยสุ่มเก็บตัวอย่าง ที่ผลิตในรุ่นเดียวกัน หรือ วัน เดือน ปี ที่ผลิตเหมือนกัน เช่น น้ำ 1 ลิตร เก็บ 8 ขวด ต่อ 1 ตัวอย่าง ที่ผลิตวันที่ 1 เม.ย 55

  8. 2. ปิดภาชนะให้เรียบร้อยพร้อมติดฉลาก อาหารที่ไม่ใช่ตัวอย่างเดียวกันต้องแยกภาชนะบรรจุ ห้ามปนกัน 3. ฉลากกำกับตัวอย่างอาหาร - ชื่อและนามสกุลของเจ้าของตัวอย่างอาหาร - สถานที่เก็บตัวอย่างอาหาร ( ที่อยู่ ) - ชื่อหรือชนิดตัวอย่างอาหาร - วันที่ เดือน ปี และเวลาที่เก็บตัวอย่าง - ชื่อผู้นำส่งตัวอย่าง *กรณีเกิดโรคอาหารเป็นพิษ ต้องระบุเพิ่ม - ข้อมูลทางระบาดวิทยา - อาการของผู้ป่วยและระยะเวลาการเกิดโรค 4. หมายเลขโทรศัพท์ผู้ส่งตัวอย่าง หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง

  9. ปริมาณตัวอย่าง กรณีปกติ • ตัวอย่างอาหาร 4 หน่วยบรรจุ x 500 กรัม 2. น้ำบริโภค ประมาณ 1 ถัง หรือ 6 ขวดx 950 มิลลิลิตร 3. น้ำแข็ง 6 ถุง x 1 กิโลกรัม 4. นมพร้อมดื่ม อย่างน้อย 3 – 6 หน่วยบรรจุ 5. Swab ภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ หมายเหตุ ตัวอย่างอาหารชนิดอื่น ๆ ส่งปริมาณตามคู่มือ การให้บริการตรวจวิเคราะห์ ของศูนย์วิทยาศาสตร์การ- แพทย์ที่ 2 อุดรธานี

  10. ปริมาณตัวอย่าง กรณีเกิดการระบาด ของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ 1. อาหาร อย่างน้อย 200 กรัม 2. น้ำ/น้ำแข็ง ประมาณ 1 – 5 ลิตร 3. นมพร้อมดื่มให้เก็บนมที่เหลือจากการดื่ม หรือให้เก็บนม ที่ผลิตในlot เดียวกัน *หรือเท่าที่เหลืออยู่ที่สามารถเก็บได้ ในกรณีที่ไม่มีตัวอย่าง เหลืออยู่ให้เก็บจากตัวอย่างที่มาจากแหล่งเดียวกัน ใช้ส่วนประกอบหรือมีวิธีการปรุงเหมือนกับอาหารที่ต้องสงสัย

  11. วิธีการเก็บรักษาและการนำส่งตัวอย่างอาหารวิธีการเก็บรักษาและการนำส่งตัวอย่างอาหาร 1.ตัวอย่างที่เน่าเสียง่าย เมื่อสุ่มตัวอย่างและติดฉลากเรียบร้อยแล้ว ต้องนำ ภาชนะบรรจุตัวอย่างอาหารนั้นใส่ในถุงพลาสติกที่ สะอาดอีกชั้นหนึ่งรัดปากถุงให้เรียบร้อย เก็บในภาชนะ ที่สามารถรักษาอุณหภูมิไว้ได้ที่ประมาณ 4 oC ห้ามแช่แข็ง ยกเว้น ตัวอย่างที่แช่แข็ง ต้องนำส่งในสภาพที่แช่แข็ง

  12. การนำส่งตัวอย่างอาหารการนำส่งตัวอย่างอาหาร การนำส่งห้องปฏิบัติ ต้องมีการนัดหมายล่วงหน้า ก่อนนำส่ง โดยจะต้องนำส่ง ภายในไม่เกิน 4 -6 ชั่วโมง กรณีที่จะตรวจวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยา ไม่เกิน 72 ชั่วโมง กรณีที่จะตรวจทางเคมีและกายภาพ

  13. นำส่งตัวอย่างทุกครั้งต้องมีหนังสือนำส่งนำส่งตัวอย่างทุกครั้งต้องมีหนังสือนำส่ง โดยแจ้ง  รายละเอียดของตัวอย่างที่ส่งตรวจ  จำนวนตัวอย่างและจำนวนหน่วยของแต่ละตัวอย่าง  วัตถุประสงค์หรือรายการที่ต้องการให้ตรวจ  กรณีเป็นอาหารที่สงสัยว่าจะเป็นสาเหตุให้เกิด อาการอาหารเป็นพิษ ต้องแจ้งข้อมูลทางระบาดวิทยา โดยละเอียดเพื่อเป็นแนวทางในการหาสาเหตุ ของการเกิดโรค

  14. งานวิเคราะห์อาหารจุลชีววิทยางานวิเคราะห์อาหารจุลชีววิทยา 0 4220 7368 เบอร์โทรศัพท์ ในเวลาราชการ 0 4220 7364 – 66 ต่อ 113 เบอร์โทรศัพท์ นอกเวลาราชการ 1. นางเกตุ สินเทศ 08 1048 6462 2. นางโชติวรรณ พรทุม 08 3361 7038 3. นายสุริยา สารีบุตร08 9277 7441

More Related