1 / 43

การปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงาน บริษัท แหลมทอง ไฮบริด จำกัด ( ปากช่อง )

การปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงาน บริษัท แหลมทอง ไฮบริด จำกัด ( ปากช่อง ). นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ สาขา สัตว ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สมาชิกฝึกงาน. 1. นายอนุวัตร แก่นจันทร์

minya
Download Presentation

การปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงาน บริษัท แหลมทอง ไฮบริด จำกัด ( ปากช่อง )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกงานบริษัท แหลมทอง ไฮบริด จำกัด ( ปากช่อง ) นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ สาขา สัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

  2. สมาชิกฝึกงาน 1. นายอนุวัตร แก่นจันทร์ 2. นายอธิวัฒน์ ขนานแข็ง 3. นายศุภร ศรีจรูญ 4. นางสาวจตุพร พึ่งเพ็ง 5. นางสาววรรณภา พิบูลพงษ์

  3. สาว N แผนผังการจัดการสุกร รุ่น A (2x) B ท้องแรก A ท้อง 2+ รุ่น C (แท้) Eท้อง 2+ D ท้อง 2+ C ท้อง 1+ * C:GGP , D:GP , A,B,E: PS

  4. การทำงานในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องการทำงานในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง

  5. งานประจำวันในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องงานประจำวันในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง 1. เปลี่ยนน้ำยาจุ่มเท้า( เปลี่ยนทุกวันก่อนขึ้นเล้า ) โดยใช้ Biocid - 30 ในอัตราส่วน Biocid-30 25 ซีซี : น้ำ 5 ลิตร 2. การให้อาหาร - ให้เวลา 7.30 น.และ 14.00 น.

  6. ปริมาณการให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้องปริมาณการให้อาหารแม่สุกรอุ้มท้อง

  7. 3. การทำความสะอาด -เก็บกวาดมูลสุกร - กวาดเศษอาหารบนทางเดิน - ตักอาหารเก่าออกจากรางอาหาร

  8. 4. ตรวจเช็คสัดแม่สุกร (เช้า 08.30 น. – เย็น 16.00 น.) - ปล่อยพ่อพันธุ์ตรง ทางเดินหน้าแม่สุกร - ทำการกระตุ้นแม่สุกร โดยการถูบริเวณหลัง สีข้าง ราวนมหรือดึงสวาบ

  9. - พอแม่สุกรนิ่งเมื่อมีพ่อพันธุ์อยู่ด้านหน้า ให้ลองขึ้นขี่ ถ้าแม่สุกรยังนิ่งอยู่ และมีอาการ หูตั้ง หางชี้ และอวัยวะเพศบวมแดง มีน้ำเมือกไหล ให้ถือว่าแม่สุกรตัวนั้นเป็นสัด - ใช้สีสเปรย์พ่นบนตัวแม่สุกรที่เป็นสัดเพื่อเป็นสัญลักษณ์และง่ายต่อการแยกออกมาผสม

  10. ลักษณะภายนอกที่แม่สุกรแสดงออกเมื่อเป็นสัดลักษณะภายนอกที่แม่สุกรแสดงออกเมื่อเป็นสัด - อวัยวะเพศบวมแดง มีเมือกไหล - ไม่กินอาหารกระวนกระวาย - ส่งเสียงร้อง - ใบหูตั้ง หางชี้ - ขึ้นขี่ตัวอื่นหรือยอมให้ตัวอื่นขึ้นขี่ตัวเอง - เมื่อกดหลังแล้วจะยืนนิ่ง

  11. 5. การผสมเทียม อุปกรณ์ที่ใช้ในการผสมเทียม - เดือยเทียม - น้ำเชื้อจากศูนย์ผสมเทียมสุกร - ถังน้ำและฟองน้ำสำหรับล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศ

  12. ขั้นตอนและวิธีการผสมเทียมขั้นตอนและวิธีการผสมเทียม 1. อาบน้ำและทำความสะอาดแม่สุกร 2. ใช้ฟองน้ำทำความสะอาดอวัยวะเพศและเช็ดให้แห้ง 3. บีบน้ำเชื้อใส่เดือยเทียมให้ทั่วเพื่อเป็นการหล่อลื่น 4. ใช้มือแบะอวัยวะเพศออกแล้วสอดเดือยเทียมทำมุมประมาณ 45 องศา ดันเดือยเข้าแล้วหมุนทวนเข็มนาฬิกา ถ้าตึงมือแล้ว ดึงไม่หลุดก็แสดงว่าเดือยอยู่ตำแหน่งคอมดลูกแล้ว

  13. 5. ปล่อยน้ำเชื้อโดยต่อเข้ากับปลายเดือยเทียมแล้วคลายเกลียวออกเล็กน้อย โดยมดลูกของแม่สุกรจะดูดน้ำเชื้อจนกว่าจะหมด (การปล่อยน้ำเชื้อควรใช้เวลาประมาณ 3-5 นาที)*ในการผสมเทียมต้องปล่อยพ่อพันธุ์ให้อยู่ด้านหน้าแม่สุกรถูสีข้าง ถูสวาบหรือกดหลัง และหมุนเดือยออกตามเข็มนาฬิกา

  14. ประเภทของแม่สุกรและช่วงเวลาในการผสม - สุกรสาว แม่สุกรกลับสัด แม่สุกรตกค้าง เมื่อตรวจพบว่า เป็นสัดให้ทำการผสมทันที และผสมครั้งที่ 2 อีก 12 ชม. ต่อมา - สุกรนางเมื่อตรวจพบว่าเป็นสัดให้ทำการผสมหลังจากพบ 12 ชม. และผสมครั้งที่ 2 อีก 12 ชม. ต่อมา - ถ้าแม่สุกรเป็นสัดมากกว่า 7 วันหลังจากหย่านม ให้ทำการ ผสมทันที และครั้งที่ 2 อีก 12 ชม. ต่อมา

  15. 6. ตรวจเช็คแม่สุกรที่ป่วย - ซึมไม่กินอาหาร - อาการบาดเจ็บ - ท้องร่วง (ขี้ไหล) - แท้ง

  16. ยาที่ใช้ในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องยาที่ใช้ในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง BETAMOX L.A. INJECTION (Amoxicillin)10 cc. (กล้ามเนื้อ) แก้อาการอักเสบ เป็นยาปฏิชีวนะ PENDISTREP L.A. (Penicillin) 10 cc. (กล้ามเนื้อ)แก้อาการอักเสบ เป็นยาปฏิชีวนะ

  17. VETAGIN ( Analgin ) 10 cc. (กล้ามเนื้อ) บรรเทาอาการปวด และลดไข้ CATOSAL 10 cc.(กล้ามเนื้อ) ช่วยกระตุ้นระบบเมทตาโบลิซึมและบำรุงร่างกาย ใช้ในกรณีที่สุกร ซึม ไม่กินอาหาร

  18. ENROXACIN (Enrofloxacin) 10 cc. (กล้ามเนื้อ) แก้อาการท้องร่วง (ขี้ไหล) PYRAD-VIOLET (GentianViolet) ใช้ภายนอก ทาเพื่อป้องกันเชื้อรา ทำให้แผลแห้งเร็วและตกสะเก็ด

  19. CTC (Chlortetracycline) - ป้องกันการแท้งติดต่อในแม่สุกร - ปริมาณ 7.5 กรัม (600 ppm) - ให้ในเดือนคู่ ก.พ., เม.ย., มิ.ย., ส.ค., ต.ค. และ ธ.ค.

  20. โปรแกรมวัคซีนในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องโปรแกรมวัคซีนในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง

  21. การจัดการทั่วไปในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้องการจัดการทั่วไปในเล้าผสมและเล้าอุ้มท้อง - พ่นยากำจัดไร ขี้เรือน ทุกเดือน (Wecterm-10 EW) ฉีดพ่นเพื่อกำจัดแมลงและสัตว์รบกวน เช่น เห็บ หมัด ผสมน้ำในอัตรา Wecterm1 ลิตรต่อน้ำ 100 ลิตร - อาบน้ำทำความสะอาดแม่สุกร - ซ่อมท่อประปา คอก - ทำความสะอาดบริเวณรอบๆ เล้า เช่น ดายหญ้า

  22. การทำงานในเล้าคลอด

  23. การจัดการทั่วไปในเล้าคลอดการจัดการทั่วไปในเล้าคลอด เช้า • เปลี่ยนน้ำยาจุ่มเท้า • เปิดม่านบังลม • ให้อาหารแม่สุกร • เก็บกวาดมูลสุกร • ปิดไฟกก • โรยซีโอไลท์ลดความชื้นพื้นคอก • ให้อาหารลูกสุกร • เปิดน้ำหยด • กวาดทางเดิน

  24. การจัดการทั่วไปในเล้าคลอด(ต่อ)การจัดการทั่วไปในเล้าคลอด(ต่อ) • เย็น • ให้อาหารแม่สุกร • ปิดม่านบังลม • เก็บกวาดมูลสุกร • เอากระสอบและกล่องกกลง • เปิดไฟกก • ให้อาหารลูกสุกร • ปิดน้ำหยด

  25. การจัดการเตรียมย้ายแม่สุกรเข้าห้องคลอดการจัดการเตรียมย้ายแม่สุกรเข้าห้องคลอด • ทำความสะอาดพื้นโดยน้ำสะอาดและใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ Biocid-30ฉีดพ่น • การย้ายแม่สุกรเข้าคลอดควรย้ายในช่วงที่มีอากาศเย็นเพื่อป้องกันอาการหอบของแม่สุกร • ตรวจสอบการใช้งานของระบบน้ำหยด • เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมในการทำคลอด ทิงเจอร์ไอโอดีน คีมตัดหาง คีมตัดเบอร์หู • มีการเตรียมไฟกกและกระสอบสำหรับลูกสุกร • เตรียม Zeo lab , Mistral และ Stalosan F ให้พร้อม

  26. การจัดการแม่สุกรในห้องคลอดการจัดการแม่สุกรในห้องคลอด • นำแม่สุกรเข้าห้องคลอดในวันที่ 110 ของการอุ้มท้อง • ฉีด OTC (OXYTETRAEYCLINE) เพื่อป้องกันพยาธิเม็ดเลือดแดงในสุกร • ก่อนแม่สุกรคลอด 1 วัน ฉีดเบตาม๊อก (BETAMOX) เพื่อลดการอักเสบและ เคลียเชื้อในร่างกาย ฉีดแพลนเนต (Planate injection) เพื่อเร่งหรือเหนี่ยวนำให้เกิดการคลอดในสุกรพันธุ์ และสุกรสาว

  27. อาการก่อนคลอดของแม่สุกรอาการก่อนคลอดของแม่สุกร • อวัยวะเพศมีอาการบวมประมาณหนึ่งสัปดาห์ก่อนคลอด • น้ำนมเริ่มหลั่งก่อนคลอดประมาณ 6-8 ชม. • แม่สุกรกระวนกระวาย อยู่ไม่นิ่ง • ระยะเวลาในการคลอดของลูกแต่ละตัวไม่ควรเกิน 30 นาที หากเกินควรล่วงช่วยแม่สุกร

  28. การจัดการต่อลูกสุกรขณะคลอดการจัดการต่อลูกสุกรขณะคลอด • หลังจากลูกสุกรคลอดควรให้กินนมน้ำเหลืองภายใน 10-35 นาที - คลุกลูกตัวสุกรด้วย Mistral หรือ Starosan F - โรยผง Starosan F (ช่วยกำจัดและป้องกันเชื้อแบคทีเรีย จุลินทรีย์)

  29. การจัดการแม่สุกรเมื่อพบว่าแม่สุกรไม่คลอดการจัดการแม่สุกรเมื่อพบว่าแม่สุกรไม่คลอด • ในกรณีที่ถึงกำหนดคลอดแล้วแม่สุกรไม่คลอดลูก ฉีด เบต้าม๊อก (Betamox) ควบคู่กับ อ๊อกซี่โทซิน (Oxytocin) เพื่อกระตุ้นให้แม่สุกรคลอด

  30. การจัดการต่อแม่สุกรเมื่อคลอดการจัดการต่อแม่สุกรเมื่อคลอด • หลังแม่สุกรคลอดเสร็จ 1 วัน ฉีด เบตาม๊อก (BETAMOX) เพื่อลดการอักเสบและ เคลียเชื้อในร่างกาย โดยการฉีดควบคู่กับการฉีด ลูทาไลส์(Lutlyse) เพื่อขับรกที่ตกค้างออก • 1 วันหลังจากฉีดเบตาม๊อก และ ลูทาไลส์ เมื่อแม่สุกรคลอดเสร็จจะ ฉีด เบตาม๊อก ซ้ำอีกครั้ง เพื่อลดการอักเสบและเคลียเชื้อในตัวแม่สุกร

  31. การจัดการลูกสุกรหลังคลอดการจัดการลูกสุกรหลังคลอด ทำคลอดเมื่ออายุครบ 1วัน ตอนเมื่ออายุครบ 3วัน อุปกรณ์การตอน • อุปกรณ์การทำคลอด

  32. การจัดการลูกสุกรหลังคลอด(ต่อ)การจัดการลูกสุกรหลังคลอด(ต่อ) • ทำคลอดลูกสุกรที่อายุครบ 1 วัน โดยการปั้มปากลูกสุกรด้วยBaycox ชั่งน้ำหนัก ฉีดยา Betamox ตัดหาง และตัดเบอร์หู

  33. การตอน • จะตอนลูกสุกรเมื่ออายุครบ 3 วัน • จับลูกสุกรเพศผู้กดให้ลูกอัณฑะออกมา • ใช้มีดกรีดถุงอัณฑะพอประมาณให้เห็นลูกอัณฑะโผล่ออกมา

  34. การตอน(ต่อ) • บีบและดึงลูกอัณฑะออกมาจนหมดจากนั้นพ่นทิงเจอร์บริเวณแผลของลูกสุกร • ฉีด ธาตุเหล็ก เข้าบริเวณกล้ามเนื้อของลูกสุกร

  35. การให้อาหารลูกสุกร • ให้อาหารแบบเลียราง คือ จะให้ช่วงบ่าย โดยเริ่มให้เมื่อลูกสุกรอายุครบ 7 วัน โดยจะเพิ่ม ควิกซาลัด (Quixalud) และ Neofruit

  36. โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอดโปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด หลังคลอด 1 สัปดาห์ หลังคลอด 2 สัปดาห์ ฉีด วัคซีน HC เพื่อป้องกันโรค อหิวาสุกร วัคซีน พาร์โวซูอิน (PARVOSUIN) ใช้สำหรับป้องกันโรคพาร์โวไวรัส ที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์

  37. โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอดโปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด หลังคลอด 3 สัปดาห์ ใช้เพื่อป้องกันโรคปากเท้าเปื่อย ( FMD )

  38. โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด(ต่อ)โปรแกรมวัคซีนและยาแม่สุกรหลังคลอด(ต่อ) • ก่อนลูกสุกรอย่านมฉีด AD3E (MULTIVITAMIN INJECTION) เพื่อบำรุงอวัยวะสืบพันธ์และช่วยเร่งกระตุ้นให้เป็นสัดเร็วขึ้น

  39. การคัดลูกสุกร • ชั่งน้ำหนักลูกสุกร เมื่ออายุ 18 วัน • พ่นสีเป็นสัญลักษณ์บนหลังลูกสุกร

  40. การคัดลูกสุกร (ต่อ) • ชั่งน้ำหนักลูกสุกรโดย - ลูกสุกรที่น้ำหนัก 5 กิโลกรัมขึ้นไป จะส่งไปที่วังน้อย และจะใช้สัญลักษณ์ด้วยสีแดง • ลูกสุกรน้ำหนัก ตั้งแต่ 4-4.8 กิโลกรัม จะส่งไปเล้าอนุบาล ใช้สัญลักษณ์สีน้ำเงิน

  41. การคัดลูกสุกร(ต่อ) • ลูกสุกรที่น้ำหนักไม่ถึง 4 กิโลกรัม และ หน้าเป็นแผล ขาบวม จะถูกคัดทิ้งและส่งขายหน้าฟาร์ม ใช้สัญลักษณ์สีม่วง

  42. สรุปตารางผลผลิต ปี ประเภท

  43. ขอบคุณค่ะ

More Related