1 / 7

สภาพปัญหาของครูในการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

เด็ก/คุณภาพผู้เรียน เก่ง ดี มีสุข. สภาพปัญหาของครูในการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. โรงเรียน. ปัญหามาตรฐานและจรรยาบรรณ. - การควบคุมจรรยาบรรณ - รับรองมาตรฐาน - พัฒนาการประกอบวิชาชีพ. ครู. ปัญหาการบริหารงานบุคคล. ผู้ปกครอง. - ข้อมูลการบริหารงานบุคคล - ระบบคุณธรรม

minowa
Download Presentation

สภาพปัญหาของครูในการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เด็ก/คุณภาพผู้เรียน เก่ง ดี มีสุข สภาพปัญหาของครูในการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียน ปัญหามาตรฐานและจรรยาบรรณ - การควบคุมจรรยาบรรณ - รับรองมาตรฐาน - พัฒนาการประกอบวิชาชีพ ครู ปัญหาการบริหารงานบุคคล ผู้ปกครอง - ข้อมูลการบริหารงานบุคคล - ระบบคุณธรรม - การใช้ครู (ครูขาด, ครูสอนไม่ตรงวุฒิ) - ความก้าวหน้า - คุณภาพชีวิต (สภาพการปฏิบัติงาน, หนี้สิน) ชุมชน ปัญหาการพัฒนาครู • - การพัฒนาไม่สนองความต้องการ • - ขาดแรงจูงใจ • - ครูทิ้งชั้นเรียน • ขาดเอกภาพ • วิธีการพัฒนา ปัญหาการผลิตครู • คุณภาพหลักสูตร • คุณภาพสถาบันผลิตครู • เอกภาพการผลิต • คุณภาพเข้าสู่วิชาชีพ (ที่มา : ข้อมูล กคศ. กรกฎาคม 2546)

  2. ผังมโนทัศน์ยุทธศาสตร์การปฏิรูปครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ภายในปี 2551 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพ คุณภาพ ตามมาตรฐานและการรับรองวิชาชีพสามารถใช้รูปแบบและวิธีการจัดการ เรียนรู้ที่หลากหลาย และนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้มีคุณภาพ มีจริยธรรม ทันต่อการพัฒนาและการแข่งขันของประเทศ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์การปฏิรูปครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพครู การผลิตครูแนวใหม่ การฟื้นฟูศรัทธาวิชาชีพครู -สร้างเอกภาพการพัฒนา -การพัฒนาและฝึกอบรมที่ยึดโรงเรียน เป็นฐานการพัฒนา (SBT/On-Site Training/ Whole School Approach) -เสริมพลังให้ชมรมวิชาการเครือข่ายวิชาชีพ มีบทบาท พัฒนาครู -พัฒนาหลักสูตรการผลิต และพัฒนาครูแนวใหม่ -พัฒนาสถาบันผลิตครู -พัฒนาคณาจารย์ ครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ - ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพ - พัฒนาระบบความก้าวหน้าในวิชาชีพ - สร้างและพัฒนาระบบค่าตอบแทน สวัสดิการ สวัสดิภาพและสิทธิประโยชน์เกื้อกูล

  3. กรอบแนวคิดหลักการการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษากรอบแนวคิดหลักการการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา • การพัฒนาต้องเกิดผลการเปลี่ยนแปลงที่ตัวเด็ก (นักเรียน) • การพัฒนาต้องเกิดจากความต้องการของครูและบุคลากรทางการศึกษา • การพัฒนาควรเป็นลักษณะ Site Based Development (SBD) • การพัฒนาต้องมีหลากหลายรูปแบบให้เลือกได้ตามความเหมาะสม • การพัฒนาต้องสอดคล้องกับภารกิจ/หน้าที่ • การพัฒนาต้องดำเนินการในรูปของเครือข่าย • การพัฒนาต้องสอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน • การพัฒนาต้องครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย

  4. เป้าหมายและวิธีการพัฒนาเป้าหมายและวิธีการพัฒนา • ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนต้องได้รับการพัฒนาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • การพัฒนามุ่งเน้นที่สมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา • รูปแบบการพัฒนาเน้นสร้างเครือข่าย - องค์กรเครือข่าย : หน่วยงานรัฐและเอกชน - บุคคลเครือข่าย : ผู้ทรงคุณวุฒิ/ปราชญ์ชาวบ้าน/ผู้ประสบความสำเร็จ • หลากหลายวิธีพัฒนา - SBD : เพื่อนช่วยเพื่อน/วิจัยในชั้นเรียน/สื่อทางไกล - OSBD : อบรม/สัมมนา/แลกเปลี่ยนประสบการณ์

  5. ผังมโนทัศน์การประเมินเพื่อพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา มาตรฐานตำแหน่ง ก.ค.ศ. กำหนดมาตรฐาน คุณภาพการปฏิบัติงาน ตามสมรรถนะของครูฯ มาตรฐานวิชาชีพครุสภา มาตรฐานวิชาเฉพาะ (กลุ่มสาระ) ตนเอง มาตรฐานการประเมิน คุณภาพการศึกษา สมศ. สถานศึกษา หน่วยงานกลาง ประเมินคุณภาพครู Profile ครู เน้นกลุ่มสาระวิชา หน่วยพัฒนา หน่วยใช้ครู พัฒนาครู หลักสูตร/วิธีการ หลากหลาย(SBT/Onsite Based) วิจัย ติดตาม พัฒนา มาตรฐาน/ หลักสูตร/ รูปแบบ พัฒนา แผนพัฒนาตนเอง (ID-Plan) คูปอง นำผลพัฒนาไปปฏิบัติ พัฒนาตนเอง ประเมิน ต่ำกว่า มาตรฐาน ได้มาตรฐาน ผู้เรียนมีพัฒนาการเรียนรู้เพิ่มขึ้นตามมาตรฐาน ระบบความก้าวหน้า ระบบประเมินต่อใบอนุญาต * เลื่อนตำแหน่ง/วิทยฐานะ/ ครูชำนาญการ/ครูเชี่ยวชาญ * ต่อใบอนุญาต, ยกย่องเชิดชูเกียรติ ระบบยกย่องเชิดชูเกียรติ ระบบค่าตอบแทน

  6. สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะหลัก (core-com) สมรรถนะงาน ในหน้าที่ (Functional-com) สมรรถนะเฉพาะ (specificational - com) (ที่มา : กคศ.)

  7. Roadmap ยุทธศาสตร์การพัฒนา ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี 2549 - 2551 32 งาน/กิจกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ มาตรการ สร้างเอกภาพ การบริหารจัดการ การพัฒนาครู การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาครู (ระบบ GIS) การปรับ สคบศ. ให้เป็นศูนย์กลางกำหนดนโยบายและจัดทำแผนพัฒนาครู ปรับระบบการบริหารจัดการ สคบศ. ให้มีอิสระและคล่องตัวในการทำงาน สร้างเอกภาพ การพัฒนา การพัฒนาครูที่ไม่มีวุฒิครูให้มีวุฒิครู การพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนให้มีวุฒิทางบริหารการศึกษา ส่งเสริมพัฒนา วุฒิทางวิชาชีพ การเสริมสร้าง วุฒิการศึกษา สนับสนุนการศึกษาต่อระดับ ป. ตรี (ครบปี 2550) สนับสนุนการศึกษาต่อระดับ ป. โท ( 0.1%) สนับสนุนการศึกษาต่อระดับ ป. เอก ( 0.05%) ส่งเสริมการศึกษาต่อ การพัฒนา ศักยภาพ ครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษา SBD@ 2,000 บาท ส่งเสริมการพัฒนาความรู้และทักษะ กลุ่มวิกฤต 220,000 คน OSBD@ 6,000 บาท (วิทย์ คณิต อังกฤษ) ตามสมรรถนะเฉพาะวิชาตามกลุ่มสาระ SBD@ 1,000 บาท พัฒนาและ ฝึกอบรมครู และบุคลากร ทางการศึกษา การเสริมสร้างทักษะและ ประสบการณ์ตามหน้าที่ กลุ่มสาระอื่น 420,000 คน OSBD@ 4,000 บาท ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ทักษะ และ SBD@ 1,000 บาท ประสบการณ์ตามสมรรถนะในหน้าที่หรือ OSBD@ 4,000 บาท มาตรฐานวิชาชีพหรือมาตรฐานตำแหน่ง การพัฒนาระบบ SBD @ 1,000/2,000 บาท/ปี สนับสนุนคูปองวิชาการ กองทุนกู้ยืมศึกษาต่อ ICL การให้รางวัล Teacher Award การสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพ การพัฒนาระบบ OSBD @ 4,000/6,000 บาท/ปี การเสริมสร้างขวัญ และแรงจูงใจ ป. โท @ 60,000 บาท/คน/ปี ป. เอก @ 100,000 บาท/คน/ปี การต่อใบอนุญาต สคบศ. การเลื่อนวิทยฐานะ ต้นสังกัด การประเมินและ ติดตามผล เขตพื้นที่ การประเมินภายใน (คุณภาพนักเรียน) การประเมินภายนอก (คุณภาพสถานศึกษา) องค์กรภายนอก (outsource) สมศ. สร้างองค์กรเครือข่าย อุดมศึกษา, เขตพื้นที่, ต้นสังกัด, สถานศึกษา, ชมรม, เอกชน เสริมพลังให้ชมรม วิชาการและ เครือข่ายวิชาชีพ การสร้างเครือข่าย สร้างบุคคลเครือข่าย ผู้ทรงคุณวุฒิ, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, ผู้มีประสบการณ์ สร้างเครือข่ายทางไกล สื่อสิ่งพิมพ์, e-learning, e-book ฯลฯ การสร้างชมรม คลังสมอง ชมรมผู้เกษียณอายุราชการ แต่ประสงค์จะทำประโยชน์แก่บ้านเมือง ชมรมวิชาชีพเฉพาะต่าง ๆ

More Related