1 / 29

การให้บริการปรึกษาครอบครัวเบื้องต้น

การให้บริการปรึกษาครอบครัวเบื้องต้น. ผศ.โสภา อ่อนโอภาส อ.นุช นาฎ ยูฮัน เงาะ. การให้บริการปรึกษา. กระบวนการให้ความช่วยเหลือที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง

Download Presentation

การให้บริการปรึกษาครอบครัวเบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การให้บริการปรึกษาครอบครัวเบื้องต้นการให้บริการปรึกษาครอบครัวเบื้องต้น ผศ.โสภา อ่อนโอภาส อ.นุชนาฎยูฮันเงาะ

  2. การให้บริการปรึกษา • กระบวนการให้ความช่วยเหลือที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ให้การปรึกษาซึ่งผ่านการฝึกอบรมจนมีทักษะและความชำนาญกับผู้ใช้บริการที่มีปัญหาคับข้องใจ โดยอาศัยการสื่อสารแบบสองทางเพื่อช่วยผู้ใช้บริการได้สำรวจ และทำความเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและสามารถแสวงหาหนทาง แก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้

  3. จุดมุ่งหมาย • 1. ผู้ใช้บริการเข้าใจตนเอง • 2. ยอมรับปัญหาที่มีอยู่ • 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่เหมาะสม

  4. การให้บริการปรึกษาครอบครัวการให้บริการปรึกษาครอบครัว • ครอบครัวเป็นระบบที่เล็กที่สุดแต่สำคัญที่สุดในระบบสังคม • ระบบของครอบครัวประกอบด้วยระบบย่อยที่มีความสัมพันธ์ของเรื่องต่อไปนี้ 1. เพศ 2. สามี ภรรยา 3. พ่อแม่ลูก

  5. สาเหตุของปัญหาของครอบครัวสาเหตุของปัญหาของครอบครัว • ความขัดแย้ง (ความคิด ความรู้สึก การกระทำ) • ความยึดติด ไม่เปลี่ยนแปลง (ความเคยชิน เหมือนเดิม)  การปฏิเสธ หลีกเลี่ยงความจริง (ไม่พร้อมเผชิญสภาพเป็นจริง)  ความต้องการควบคุมอีกฝ่ายหนึ่งให้เป็นให้ได้ตามที่ต้องการ • ความกลัว ความรู้สึกผิด ความละอายใจ (เสียดาย ดูถูก ยอมจำนน) • การไม่อยู่กับปัจจุบัน (ย้อนอดีต การคาดอนาคต)

  6. ปัญหาการขัดแย้งของบุคคลปัญหาการขัดแย้งของบุคคล 1. ปัญหาการไม่เข้าใจกัน 2. ปัญหาการสื่อสาร 3. ปัญหาโลกส่วนตัวสูง การแก้ปัญหา 1. แยกแยะประเด็นปัญหาให้ชัดเจน 2. สื่อสารทำความเข้าใจ 3. ร่วมกันหาวิธีแก้ไขปัญหา 4. แก้ไขตามวิธีที่เลือกไว้

  7. การให้บริการปรึกษาครอบครัว มีประโยชน์อย่างไร • เพื่อให้บุคคลมีความสามารถในการทำความเข้าใจในครอบครัวและวัยรุ่น สร้างขีดความสามารถในการพัฒนาศักยภาพครอบครัวได้สูงสุด และช่วยให้สมาชิกในครอบครัวสามารถพัฒนาตนเอง และ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในอนาคต • เพื่อพัฒนาความเข้าใจและยอมรับความแตกต่างของบุคคลทั้งด้าน ค่านิยม สไตล์การทำงาน ความคิด ความรู้สึก และความจำเป็นในชีวิต

  8. คุณลักษณะที่ดีของผู้ให้การปรึกษาคุณลักษณะที่ดีของผู้ให้การปรึกษา • มีเจตคติที่ดีในการให้ความช่วยเหลือ • ไม่ยึดตนเองเป็นบรรทัดฐานในการตัดสินผู้อื่น • ยอมรับอย่างไม่มีเงื่อนไข • มีความสำนึกในคุณค่าของคน • มองโลกเชิงบวก มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ • เป็นผู้ฟังที่ดี เก็บรักษาความลับ • มีทักษะการสื่อสารที่ดี

  9. กระบวนการการให้บริการปรึกษากระบวนการการให้บริการปรึกษา

  10. ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ • ต้องมีการแสดงออกทั้งคำพูด กิริยา ท่าทาง หรือลายลักษณ์อักษรซึ่งแสดงให้เห็นถึงความจริงใจ ความใส่ใจ น้ำใจไมตรี ความกระตือรือร้นที่จะให้ความช่วยเหลือ ทำให้เกิดความสบายใจ และไว้วางใจที่จะเปิดเผยความลับ

  11. ขั้นตอนที่ 2 การสำรวจ เข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ • เริ่มเข้าสู่การค้นหาปัญหาและเข้าใจปัญหา ผู้ให้บริการต้องมีทักษะ ความชำนาญในการรับรู้ความคิด ความรู้สึก และสามารถเข้าใจปัญหาของผู้ใช้บริการ

  12. ขั้นที่ 3 ขั้นการกำหนดเป้าหมาย • จะต้องช่วยให้ผู้ใช้บริการได้กำหนดหรือตั้งเป้าหมายสิ่งที่พอใจอยากจะเห็นหรือบรรลุผลสำเร็จ จะต้องสามารถกำหนดให้ชัดเจนถึงผลที่ต้องการซึ่งจะทำให้สามารถวางแผนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายได้

  13. ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนและปฏิบัติ • การที่ผู้ใช้บริการมีแนวทาง หรือวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ทั้งนี้ผู้ให้บริการต้องให้ข้อมูล และ ข้อเสนอแนะได้

  14. ขั้นตอนที่ 5 การติดตามผลและยุติการให้บริการปรึกษา • ผู้ใช้บริการสามารถปฏิบัติตามแผนและบรรลุผลผู้ให้บริการจะช่วยเน้นความรู้สึกให้ผู้ใช้บริการมีความมั่นคงและมีการนัดที่ห่างออกไป เพื่อติดตามผลถึงความสำเร็จและยุติการให้บริการปรึกษา

  15. ขั้นตอนที่ 6 การประเมินผล • การได้ทบทวนสิ่งที่ได้ปฏิบัติ ทั้งในส่วนดีและที่ติดขัดเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาความสามารถในการให้บริการปรึกษาที่มีประสิทธิภาพต่อไป

  16. ทักษะพื้นฐานในการให้การบริการปรึกษาทักษะพื้นฐานในการให้การบริการปรึกษา • การสร้างสัมพันธภาพ • การถาม • การฟัง • การสังเกต • การให้กำลังใจ • การสะท้อนความรู้สึก • การให้ข้อมูล • การ

  17. 1. การสร้างสัมพันธภาพ เป็นการแสดงความตั้งใจและจริงใจที่จะให้ความช่วยเหลือผู้ใช้บริการ และตลอดระยะเวลาของกระบวนการให้บริการปรึกษา ซึ่งผู้ให้บริการปรึกษาสามารถสื่อความหมายออกมาได้ทั้งภาษาพูดและกิริยาท่าทาง

  18. แนวทางการสร้างสัมพันธภาพแนวทางการสร้างสัมพันธภาพ  ทักทาย  พูดคุยทั่วไป  ใส่ใจ  บริการของหน่วยงาน  เปิดประเด็น

  19. การคำถาม • การตั้งคำถามแก่ผู้ใช้บริการ เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหา และความต้องการของผู้ใช้บริการ • แนวทางการใช้คำถาม 1.คำถามปิด 2.คำถามเปิด

  20. การฟัง • การที่ผู้ให้บริการปรึกษารับฟังความคิด อารมณ์ ความรู้สึกในปัญหาของผู้ใช้บริการในขณะที่ให้บริการปรึกษา • แนวทางการฟังที่แสดงถึงความสนใจและเข้าใจ 1.ประสานสายตา 2.ซักถามในจุดที่สงสัย 3.แกะรอย ไม่เปลี่ยนเรื่อง 4. ใส่ใจการแสดงออก 5.มีการตอบสนอง

  21. การสังเกต • การใช้การมองด้วยตาและรับฟังด้วยหูเพื่อรับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่ผู้ใช้บริการแสดงออกมาและแปลความหมายเหล่านั้นออกมาเป็นคำพูดให้ผู้ใช้บริการได้รับรู้และเข้าใจวัตถุประสงค์มากขึ้น • แนวทางการสังเกต 1. กิริยาท่าทาง 2. ภาษาที่ใช้ 3.ความขัดแย้งของคำพูดกับท่าทาง

  22. การเงียบ • เป็นช่วงระยะเวลาระหว่างการปรึกษาที่ไม่มีการสื่อสารด้วยวาจา ระหว่างผู้ให้บริการปรึกษาและผู้ใช้บริการ • แนวทาง 1.การเงียบเชิงบวก 2.การเงียบเชิงลบ

  23. การทวนซ้ำ • การพูดในสิ่งที่ผู้ใช้บริการได้บอกเล่าหรือพูดไปแล้วอีกครั้งหนึ่ง โดยไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าในแง่ของภาษา หรือความรู้สึก เพื่อให้ผู้พูดได้คิดทบทวนสิ่งที่พูดออกมา • แนวทางการทวนซ้ำ 1. ทวนซ้ำทุกคำพูด 2. ทวนซ้ำสาระสำคัญ 3.ทวนซ้ำเพื่อให้คิดอีกครั้ง

  24. การให้กำลังใจ • การแสดงความสนใจ ความเข้าใจในสิ่งที่ผู้ใช้บริการได้พูดมาแล้วและเป็นการสนับสนุนให้เขาได้พูดต่อไป • แนวทางการให้กำลังใจ 1.แสดงกิริยารับรู้ 2. ทวนซ้ำ 3. เงียบ 4. ใช้คำพูด

  25. การสะท้อนความรู้สึก • การที่ผู้ให้บริการปรึกษารับรู้ความคิดความรู้สึกอารมณ์ต่างๆที่ผู้ใช้บริการแสดงออกมา และสะท้อนความรู้สึกที่แท้จริงออกมาเป็นคำพูด • แนวทาง 1.ฟังอย่างตั้งใจและเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของผู้พูด 2.หาคำที่ตรงกับความรู้สึกนั้นและสะท้อนออกมา

  26. การให้ข้อมูล • เป็นการสื่อสารทางวาจา เพื่อให้รายละเอียดต่าง ๆที่จำเป็นแก่ผู้ใช้บริการ อันจะเป็นประโยชน์ในการเข้าใจถึงปัญหาของตนเอง และใช้ประกอบการตัดสินใจซึ่งจะทำให้ผู้ใช้บริการปรึกษามีทางเลือกในการปฏิบัติ

  27. การสรุปความ • เป็นการรวบรวมสิ่งที่เกิดขึ้นในระหว่างการให้บริการปรึกษาหรือเมื่อจบการให้บริการปรึกษาออกมาเป็นคำพูดสั้นๆ ให้ได้ใจความสำคัญสำคัญซึ่งจะมีทั้งสรุป เนื้อหา ความรู้สึก และกระบวนการ • แนวทาง 1. ในกรณีที่พูดยาวควรสรุปเนื้อหาและความรู้สึกให้สั้น กระชับ 2. ก่อนจบการให้บริการควรต้องสรุปความ

  28. ขอบพระคุณที่ร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ขอบพระคุณที่ร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้

More Related