1 / 20

ความหมายของคำว่า “คุณภาพ”

ความหมายของคำว่า “คุณภาพ”. “คุณภาพ” มีผู้ให้ความหมายหลากหลาย เช่น การปฏิบัติเพื่อให้ได้มาตรฐานตามที่ลูกค้าต้องการ การปฏิบัติตามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ได้รับผลผลิตและการบริการตามความต้องการและความคาดหวังตลอดไป

millie
Download Presentation

ความหมายของคำว่า “คุณภาพ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความหมายของคำว่า “คุณภาพ” “คุณภาพ” มีผู้ให้ความหมายหลากหลาย เช่น การปฏิบัติเพื่อให้ได้มาตรฐานตามที่ลูกค้าต้องการ การปฏิบัติตามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ได้รับผลผลิตและการบริการตามความต้องการและความคาดหวังตลอดไป การทำสิ่งที่ถูกต้องในครั้งแรกด้วยเวลาที่ถูกต้อง มีการปรับปรุงอยู่เสมอและทำให้ลูกค้าพอใจ สามารถให้นิยามตามความเห็นของผู้เกี่ยวข้อง ผู้ที่จะตัดสินว่ามีคุณภาพหรือไม่ ขึ้นอยู่กับบุคลากรที่ต่างกันออกไป มีเกณฑ์การพิจารณาต่างกัน เกณฑ์จะเปลี่ยนแปลงตามผู้คนที่ต่างกัน

  2. องค์ประกอบของคุณภาพ ความคาดหวังของลูกค้า นำไปประยุกต์ใช้กับผลผลิต บริหาร บุคคล กระบวนการ และสภาพแวดล้อม มีสถานะปรับเปลี่ยนอยู่เสมอ สรุป คุณภาพมีสถานะที่เป็นพลวัตร ขึ้นอยู่กับผลผลิต บริหาร บุคคล กระบวนการ สภาพแวดล้อมที่นำไปสู่ความคาดหวัง ที่ตั้งไว้

  3. ความหมายของคำว่า “คุณภาพโดยรวม” (Total Quality) การดำเนินงานทางธุรกิจที่ต้องการให้องค์กรประสบความสำเร็จสูงสุด โดยผ่านการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องในด้านของ ผลผลิต บริหาร บุคคล กระบวนการ สภาพแวดล้อม

  4. วิธีการที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จสูงสุดวิธีการที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จสูงสุด มียุทธศาสตร์เป็นพื้นฐาน มุ่งที่ลูกค้า คุณภาพเต็มเปี่ยม แก้ปัญหาและตัดสินใจโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีข้อผูกพันระยะยาว

  5. วิธีการที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จสูงสุดวิธีการที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จสูงสุด มีทีมงาน มีการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง ให้ความรู้และฝึกอบรม ให้อิสระโดยมีการควบคุม มีเป้าหมายที่จะนำมาใช้ประโยชน์ พนักงานมีพลังและมีส่วนร่วม

  6. Big Q ผลผลิต บริหาร บุคคล กระบวนการ สภาพแวดล้อม Little Q คุณภาพของส่วนประกอบย่อย/เกณฑ์ของแต่ละส่วนภายในองค์ประกอบย่อย

  7. ประวัติความเป็นมาของคุณภาพโดยรวมประวัติความเป็นมาของคุณภาพโดยรวม ความเคลื่อนไหวในการจัดให้มีคุณภาพโดยรวม เริ่มตั้งแต่ต้นปี ค.ศ.1920 เป็นต้นมา โดย Frederick W Taylor และปีต่อๆ มา ดังแสดงในตาราง (Goetsch, 2003:9)

  8. ความแตกต่างของแนวคิด 2 ประการ

  9. ความแตกต่างของแนวคิด 2 ประการ

  10. ความแตกต่างของแนวคิด 2 ประการ

  11. ลูกค้า องค์ประกอบสำคัญของคุณภาพโดยรวม • การวัด • SPC • Benchmarking • Quality tools • บุคคล • การสร้างบุคคล • คุณภาพที่คาดหวัง และไม่ใช้การตรวจสอบ • พลังของผู้ร่วมงาน • กระบวนการ • การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • ความเพียงพอยังไม่ใช่ดีพอ

  12. ผู้บุกเบิกคุณภาพโดยรวม(Total Quality Pioneers) • W. Edwards Deming • Joseph M. Juran • Phillip B. Crosby • Armand V. Feigenbaum • Shiego Shingo

  13. The Deming Cycle 1 Plan 5 Analyze 2 Do The Deming Cycle 4 Act 3 Check

  14. แนวคิดเรื่อง“Six Sigma” • เป็นนวัตกรรมของคุณภาพโดยรวมที่รู้จักกันแพร่หลายที่สุด • บริษัท Motorola คิดขึ้นเมื่อกลางปี ค.ศ.1980 • นำมาใช้ปรับปรุงผลการปฏิบัติให้มีข้อบกพร่องน้อยกว่า 3.4 ครั้งต่อ 1 ล้านครั้ง • เหมาะกับการกำหนดคุณภาพ

More Related