1 / 54

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

รายการคำชี้แจงประกอบคำขอ จัดตั้งส่วนราชการของ. สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. มกราคม ๒๕๕๑. 1. การวิเคราะห์ภารกิจ ( Business analysis). เป็นงานที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่.

Download Presentation

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายการคำชี้แจงประกอบคำขอจัดตั้งส่วนราชการของรายการคำชี้แจงประกอบคำขอจัดตั้งส่วนราชการของ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มกราคม ๒๕๕๑

  2. 1. การวิเคราะห์ภารกิจ • (Business analysis)

  3. เป็นงานที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่ เป็นงานที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่ รับผิดชอบกำหนดแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร กรมการแพทย์ เพื่อดำเนินการ และพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม ให้บรรลุภารกิจ เป้าหมายยุทธศาสตร์ ของกรม และรองรับการกระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน ปี 2550 และการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ ตลอดจนให้คำปรึกษาและสนับสนุน ควบคุม กำกับดูแล การบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานในสังกัดของกรมการแพทย์ ใช่ 2. เป็นงานที่มีการปฏิบัติซ้ำซ้อนอยู่ที่ใดหรือไม่ ไม่ใช่ เพราะเป็นหน่วยงานเดียวของกรมที่รับผิดชอบการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม รวมทั้งสนับสนุน ให้คำปรึกษา แนะนำการบริหารทรัพยากรบุคคลแก่หน่วยงานในสังกัดของกรม 3. เป็นงานที่ถือเป็นหน้าที่หลักใช่หรือไม่ เพราะเป็นหน่วยงานเดียวของกรมที่รับผิดชอบการกำหนดแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลและแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร กรมการแพทย์ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และภารกิจของกรมการแพทย์ ใช่

  4. 4. เป็นงานที่มอบ/กระจายอำนาจไปให้ภูมิภาค/ท้องถิ่นได้หรือไม่ เป็นส่วนราชการที่ปรากฏในกฎกระทรวงมีฐานะเป็นการบริหารราชการส่วนกลาง ซึ่งมีหน้าที่เป็นศูนย์กลางที่ช่วยหัวหน้าส่วนราชการในการใช้อำนาจในการกำหนดนโยบาย สั่งการ อนุมัติ อนุญาตในงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม ซึ่งต้องการผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญเป็นมืออาชีพทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ไม่ใช่ 5. เป็นงานที่ดำเนินการโดยจัดตั้งเป็นองค์กรของรัฐรูปแบบอื่นได้หรือไม่ เพราะเป็นส่วนราชการ ที่รับผิดชอบงานบริหารทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นการใช้อำนาจของรัฐตามกฎหมาย ไม่ใช่ 6. เป็นงานที่จำเป็นต้องดำเนินการโดยรัฐทั้งหมดหรือไม่ เพราะเป็นส่วนราชการเดียวของกรมที่รับผิดชอบรับผิดชอบการกำหนดแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลและแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร กรมการแพทย์ซึ่งต้องพัฒนาระบบงานและดำเนินการ ตลอดจน ติดตาม กำกับให้การบริหารทรัพยากรบุคคลบรรลุเป้าหมายตามแผน ดังกล่าว รวมทั้งต้องเป็นที่ปรึกษา แนะนำ และแก้ไขปัญหาการบริหารทรัพยากรบุคคลแก่หน่วยงานในสังกัดของกรม ใช่ คงภารกิจของส่วนราชการ

  5. 2. เหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้ง

  6. เหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้งเหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้ง เป็นการปรับโครงสร้างและปรับบทบาทภารกิจ เพื่อรองรับ - ภารกิจหลักของกรม - ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยเน้นบริหารเชิงยุทธศาสตร์ - การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ - การกระจายอำนาจตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่ - เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน

  7. 2.1 เมื่อจัดตั้งขึ้นแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของชาติในด้านใด • เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ ที่จะส่งผลต่อการขับเคลื่อน นโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ดังนี้ • (1) นโยบายรัฐบาล • ข้อ.3.4 พัฒนาสุขภาวะของประชาชนให้ครอบคลุมทั้งมิติทางกาย จิต สังคม • และปัญญา • ข้อ.3.6 สร้างความเข้มแข็งของทุกชุมชนท้องถิ่นและประชาสังคม • ข้อ.5.1 ส่งเสริมการผนึกกำลังระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม • และภาควิชาการ

  8. 2.1 เมื่อจัดตั้งขึ้นแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของชาติในด้านใด(ต่อ) • เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ ที่จะส่งผลต่อการขับเคลื่อน นโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ดังนี้(ต่อ) • (2) ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข • ข้อ. 2. พัฒนาระบบบริหารจัดการ และระบบบริการ ด้านสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐานในระบบหลักประกันสุขภาพ โดยเน้นการผลิตบุคลากรด้านการแพทย์ • ข้อ. 3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิชาการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการแพทย์และสาธรณสุข • ข้อ. 10 เสริมสร้างระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน บำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพของประชาชนผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

  9. 2.1 เมื่อจัดตั้งขึ้นแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของชาติในด้านใด(ต่อ) • เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ ที่จะส่งผลต่อการขับเคลื่อน นโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ดังนี้(ต่อ) • (3) ยุทธศาสตร์กรมการแพทย์ • ข้อ. 1. พัฒนาระบบบริการตติยภูมิและศูนย์การแพทย์ระดับภูมิภาคของประเทศ • ข้อ. 2. พัฒนาสถาบันกรมการแพทย์เป็นสถาบันเฉพาะทางชั้นสูง / สถาบัน • ระดับชาติ • ข้อ. 3 เร่งดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำคัญเร่งด่วนให้ครบถ้วนอย่างเป็นระบบ • ตามบริบทของกรมการแพทย์ • ข้อ. 4 พัฒนาบริการทางการแพทย์ด้านการบำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและ • สารเสพติดอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน • ข้อ. 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการกรมการแพทย์

  10. 2.2 เหตุผลที่แสดงว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารราชการสามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการดำเนินงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและ/หรือสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร และประชาชนจะได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างไร 2.2.1 เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อรองรับภารกิจ หน้าที่ความรับผิดชอบที่ยุ่งยากซับซ้อนและคุณภาพงานที่สูงขึ้น 2.2.2 เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สนับสนุนนโยบาย และยุทธศาสตร์ของรัฐ ซึ่งต้องกำหนดการวางแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลรวมไปถึง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรของกรม 2.2.3 เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการกระจายอำนาจของ องค์กรกลาง (พรบ. ข้าราชการพลเรือน ปี 2550) 2.2.4 ปรับเปลี่ยนระบบวิธีการทำงานการบริหารทรัพยากรบุคคลเน้นเชิง ยุทธศาสตร์ ให้เป็นไปตามแนวทางการการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ 2.2.5 เป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถสนองตอบภารกิจของกรม จะส่งผลให้ประชาชนได้รับการดูแลรักษาพยาบาลอย่างเต็มศักยภาพ ของบุคลากรของกรมการแพทย์

  11. 2.3 ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ 2.3.1 หน้าที่ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป โดยชี้แจงรายละเอียดว่า มีงานเพิ่มขึ้นอย่างไร หรือลักษณะงานเปลี่ยนแปลงไปประการใด สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่ความรับผิดชอบที่เปลี่ยนแปลง ไปจากเดิม คือ มุ่งเน้นการทำงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบทางด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลในเชิงยุทธศาสตร์ โดยมีหน้าที่เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม 2. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร กรมการแพทย์ 3.ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำแผนกำลังคนกรมการแพทย์ ให้สอดคล้องกับภารกิจ และยุทธศาสตร์ของกรม และแก้ไขปัญหาความขาดแคลนของบุคลากร 4. ดำเนินการจัดระบบงานและพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรม 5. พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและระบบสมรรถนะ

  12. 2.3 ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ 2.3.1 หน้าที่ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป โดยชี้แจงรายละเอียดว่ามีงานเพิ่มขึ้นอย่างไร หรือลักษณะงานเปลี่ยนแปลงไปประการใด (ต่อ) 6. ประสานนโยบายและแผนงาน ตลอดจน สนับสนุน ควบคุม กำกับ และติดตาม ประเมินผล การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมให้สอดคล้อง ตามนโยบายของรัฐ 7. รับผิดชอบการจัดสวัสดิการเพื่อ คุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการแพทย์ 8. ดำเนินการเกี่ยวกับวินัยและพิทักษ์ระบบคุณธรรมของกรม 9. ดำเนินการเกี่ยวกับงานนิติการและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง 10. รับผิดชอบงานศูนย์ประสานราชการใสสะอาดของกรมการแพทย์ 11. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

  13. 2.3 ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ 2.3.2 มีการเปลี่ยนแปลงระบบ หรือวิธีการทำงาน เฉพาะหน่วยงานหรือในภาพรวมของกรม เป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารงานบุคคลแบบดั้งเดิม มาเป็นระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน โดยยึดหลักธรรมาภิบาล

  14. 2.3 ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ 2.3.3 ปัญหาการดำเนินงาน หรือการบริหารงานของกรม อันเนื่องมาจากโครงสร้างส่วนราชการเดิมไม่เหมาะสม 2.3.3 ปัญหาการดำเนินงาน หรือการบริหารงานของกรมอันเนื่องมาจาก โครงสร้างส่วนราชการเดิมไม่เหมาะสม 2.3.3.1 โครงสร้างของการบริหารงานบุคคลเดิมไม่สามารถตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์ 2.3.3.2 ปัจจุบันหน่วยงานที่รับผิดชอบการบริหารทรัพยากรบุคคล จำเป็นต้องมีบทบาทเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 2.3.3.3 มีบทบาทการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ยุ่งยากซับซ้อนยิ่งขึ้น เนื่องจากต้องมีภารกิจที่รองรับ การกระจายอำนาจของ องค์กรกลาง(พรบ. ข้าราชการพลเรือน ปี 2550)

  15. 3. ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ

  16. 3.1 ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการที่ปรับใหม่3.1 ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการที่ปรับใหม่ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล มีภารกิจเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ และภารกิจของกรม โดยมีอำนาจหน้าที่ 1. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม 2. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร กรมการแพทย์ 3. ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำแผนกำลังคนกรมการแพทย์ ให้สอดคล้องกับภารกิจ และยุทธศาสตร์ของกรม และแก้ไขปัญหาความขาดแคลนของบุคลากร 4. ดำเนินการจัดระบบงานและพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรม 5. พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและระบบสมรรถนะ

  17. 3.1 ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการที่ปรับใหม่ (ต่อ) 6. ประสานนโยบายและแผนงาน ตลอดจน สนับสนุน ควบคุม กำกับ และติดตาม ประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมให้สอดคล้องตามนโยบายของรัฐ 7. รับผิดชอบการจัดสวัสดิการเพื่อ คุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการแพทย์ 8. ดำเนินการเกี่ยวกับวินัยและพิทักษ์ระบบคุณธรรมของกรม 9. ดำเนินการเกี่ยวกับงานนิติการและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง 10. รับผิดชอบงานศูนย์ประสานราชการใสสะอาดของกรมการแพทย์ 11. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

  18. 3.2 การแบ่งส่วนราชการ 3.2.1 แผนภูมิการแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน กองการเจ้าหน้าที่ กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายพัฒนาบุคคลและสวัสดิการ ฝ่ายทะเบียนประวัติและบำเหน็จความชอบความชอบ กลุ่มงานวินัยและนิติการ ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง กลุ่มงานพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง

  19. 3.2.1 แผนภูมิการแบ่งส่วนราชการที่ปรับปรุงใหม่ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล กลุ่มภารกิจอำนวยการ กลุ่มภารกิจบริหารงานบุคคล กลุ่มภารกิจกฎหมาย วินัย และ พิทักษ์ระบบคุณธรรม

  20. ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอปรับปรุงใหม่ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอปรับปรุงใหม่

  21. 3.3 หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ การเปรียบเทียบหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ

  22. 4. นโยบาย แผนงานสำคัญของรัฐบาลที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ

  23. นโยบาย แผนงาน สำคัญของรัฐบาลที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์กระทรวง สธ. ยุทธศาสตร์ กรมการแพทย์ ข้อ.3.4 พัฒนาสุขภาวะของประชาชนให้ครอบคลุมทั้งมิติทางกาย จิต สังคม และปัญญา ข้อ. 1. พัฒนาระบบบริการตติยภูมิและศูนย์การแพทย์ระดับภูมิภาคของประเทศ ข้อ. 2. พัฒนาระบบบริหารจัดการ และระบบบริการ ด้านสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐานในระบบหลักประกันสุขภาพ โดยเน้นการผลิตบุคลากรด้านการแพทย์ ข้อ. 2. พัฒนาสถาบันกรมการแพทย์เป็นสถาบันเฉพาะทางชั้นสูง / สถาบันระดับชาติ สำนักบริหาร ทรัพยากรบุคคล ข้อ.3.6 สร้างความเข้มแข็งของทุกชุมชนท้องถิ่นและประชาสังคม ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล แผนพัฒนาบุคลากร เพื่อให้มีอัตรากำลังเพียงพอ และมีศักยภาพที่จะปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ข้อ. 3 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิชาการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการแพทย์และสาธรณสุข ข้อ. 3 เร่งดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำคัญเร่งด่วนให้ครบถ้วนอย่างเป็นระบบตามบริบทของกรมการแพทย์ ข้อ.5.1 ส่งเสริมการผนึกกำลังระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม และภาควิชาการ ข้อ. 10 เสริมสร้างระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน บำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพของประชาชนผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ข้อ. 4 พัฒนาบริการทางการแพทย์ด้านการบำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติดอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน ข้อ. 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการกรมการแพทย์

  24. 5. ปริมาณงาน

  25. ตารางแสดงปริมาณงานย้อนหลัง และเป้าหมายล่วงหน้า

  26. 6. ค่าใช้จ่าย

  27. กรอบค่าใช้จ่ายล่วงหน้า

  28. 7. โครงสร้างอัตรากำลังเจ้าหน้าที่

  29. สรุปกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน / ขอปรับปรุง

  30. การจัดโครงสร้างกรมการแพทย์... แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งงานภายในและอัตรากำลังของสำนักบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล (43) เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 9 บส. -1 * กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์ บริหารทรัพยากรบุคคล (19 ) (1) กลุ่มภารกิจบริหารงานบุคคล (13 ) กลุ่มภารกิจอำนวยการ ( 5) (3) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 6 -1 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป -1* 3-5 หรือ 6ว จพ. ธุรการ 2-4 หรือ 5 -3 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล -2 7 ว หรือ 8 ว เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 6 ว หรือ 7 ว -3 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 3-5 หรือ 6 ว -14 บุคลากร 7 ว หรือ 8 ว -2 บุคลากร 6 ว หรือ 7 ว - 2 บุคลากร 3-5 หรือ 6 ว - 8 จพ. ธุรการ 2-4 หรือ 5 - 1 พนักงานประจำสำนักงาน -3 (พนง.ร) นักวิชาการคอมพิวเตอร์ -1 (พนง.ร) กลุ่มภารกิจกฎหมาย วินัยและ พิทักษ์ระบบคุณธรรม (5 ) นิติกร 8 ว -1 นิติกร 3-5 หรือ 6 ว หรือ 7 ว -4

  31. อัตรากำลังเดิม(กองการเจ้าหน้าที่)อัตรากำลังเดิม(กองการเจ้าหน้าที่) อัตรากำลังใหม่(สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล)

  32. การจัดโครงสร้างกรมการแพทย์... แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งงานภายในและอัตรากำลังของกองการเจ้าหน้าที่ กองการเจ้าหน้าที่ (43) บุคลากร 8 บก. -1 ฝ่ายบริหารทั่วไป (2) กลุ่มงานพัฒนาระบบงานและ อัตรากำลัง (15) กลุ่มงานวินัยและนิติการ (5) บุคลากร 7ว หรือ 8ว -1 บุคลากร 6ว หรือ 7ว -2 บุคลากร 3-5 หรือ 6ว -11 จพ.ธุรการ 2-4 หรือ 5 -1 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 6 -1 จพ.ธุรการ 2-4 หรือ 5 -1 นิติกร 8ว -1 นิติกร 3-5 หรือ 6ว หรือ 7ว -4 ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง (6) ฝ่ายพัฒนาบุคคลและสวัสดิการ (5) ฝ่ายทะเบียนประวัติและบำเหน็จความชอบ (9) บุคลากร 7ว หรือ 8ว -1 บุคลากร 6ว หรือ 7ว -1 บุคลากร 3-5 หรือ 6ว -4 บุคลากร 7ว หรือ 8ว -1 บุคลากร 6ว หรือ 7ว -1 บุคลากร 3-5 หรือ 6ว -5 จพ.ธุรการ 2-4 หรือ 5 -2 บุคลากร 7ว หรือ 8ว -1 บุคลากร 6ว หรือ 7ว -1 บุคลากร 3-5 หรือ 6ว -2 จพ.ธุรการ 2-4 หรือ 5 -1

  33. 8. ร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ

  34. สำนักบริหารทรัพยากรบุคคลสำนักบริหารทรัพยากรบุคคล (1) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม (2) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร กรมการแพทย์ (3) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำแผนกำลังคนกรมการแพทย์ ให้สอดคล้องกับภารกิจ และ ยุทธศาสตร์ของกรม และแก้ไขปัญหาความขาดแคลนของบุคลากร (4) ดำเนินการจัดระบบงานและพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรม (5) พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและระบบสมรรถนะ (6) ประสานนโยบายและแผนงาน ตลอดจน สนับสนุน ควบคุม กำกับ และติดตาม ประเมินผล การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมให้สอดคล้องตามนโยบายของรัฐ (7) รับผิดชอบการจัดสวัสดิการเพื่อ คุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการแพทย์ (8) ดำเนินการเกี่ยวกับวินัยและพิทักษ์ระบบคุณธรรมของกรม (9) ดำเนินการเกี่ยวกับงานนิติการและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง (10) รับผิดชอบงานศูนย์ประสานราชการใสสะอาดของกรมการแพทย์ (11) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ที่ได้รับมอบหมาย

  35. 9. คำชี้แจงอื่นๆ

  36. ข้อมูลประกอบการพิจารณาข้อมูลประกอบการพิจารณา กองการเจ้าหน้าที่ (ปัจจุบัน) มีภารกิจเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรม โดยการสรรหาและพัฒนาให้ได้กำลังคนที่เหมาะสมกับภารกิจของกรม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย แนวทางที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. จัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกรม 2. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย มีโครงสร้างการแบ่งงานภายใน เป็น 2 กลุ่มงาน 4 ฝ่าย ดังนี้ 1. ฝ่ายบริหารทั่วไป รับผิดชอบงาน งานสารบรรณ งานธุรการทั่วไป งานพิมพ์ต่างๆ งานการเจ้าหน้าที่ งานแผนงาน และงานการเงินและบัญชีของกอง งานประชุมของกอง สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  37. 2. ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง รับผิดชอบงาน • การสรรหาบุคคล สอบแข่งขัน/คัดเลือกเพื่อบรรจุข้าราชการ พนักงานราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • การสรรหา คัดเลือก และการแต่งตั้งข้าราชการ • การบรรจุแต่งตั้ง โอน ย้าย บรรจุกลับเข้ารับราชการ การยืมตัว • การแต่งตั้งข้าราชการให้ได้รับเงินเดือนตามวุฒิ การออกคำสั่ง และตรวจทานคำสั่งต่างๆ • การประเมินบุคคล ตาม ว 16/2538 และ ว 34/2547

More Related