1 / 82

Professional Trainer.

ฝ่ายวางแผนและประเมินผล ร่วมกับ ฝ่ายฝึกอบรม 1 ส่วนฝึกอบรม สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน. To be…. Professional Trainer. นิพัทธ์ กานตอัมพร สถาบันเมธาฟอรั่ม( Meta Forum) Tel:081-8568523 E-mail:nipat.kan@gmail.com.

michel
Download Presentation

Professional Trainer.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฝ่ายวางแผนและประเมินผลร่วมกับฝ่ายฝึกอบรม 1 ส่วนฝึกอบรม สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน To be… Professional Trainer. นิพัทธ์ กานตอัมพร สถาบันเมธาฟอรั่ม(Meta Forum) Tel:081-8568523 E-mail:nipat.kan@gmail.com

  2. วิทยากร....เริ่มต้นที่การพัฒนาทักษะ (Skills) และไม่เพียงแค่เรียนรู้ ฝึกฝนจากการฝึกอบรม แต่ต้องเป็นการสร้างการเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด ที่ใช้พลังสมอง พลังจิต.....พัฒนาตนเองสู่มืออาชีพ

  3. Module 1ศิลปะการพูดและการนำเสนอขั้นพื้นฐาน(Public speaking & Presentation technique)-หลักการพูดในที่ชุมชน กับ หลักสามสบาย-เทคนิคการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพด้วยหลักสามใจ- การพูดในโอกาสพิเศษ

  4. คำพูดที่ดีเป็นสิ่งมีค่าไม่ต้องใช้เงินตรามาลงทุนคำพูดที่ดีเป็นสิ่งมีค่าไม่ต้องใช้เงินตรามาลงทุน

  5. คุณลักษณะของนักพูด • บุคลิกภาพ • มีความรอบรู้ • ไหวพริบปฏิภาณ • ร่าเริงสนุกสนาน • น้ำเสียงไพเราะ

  6. สิ่งเกี่ยวข้องเมื่อต้องพูดสิ่งเกี่ยวข้องเมื่อต้องพูด • การแต่งกาย • อิริยาบถ • สายตา • น้ำเสียง • ภาษา • ไมโครโฟน

  7. 1. การแต่งกายยึดหลัก 5 ส • สุภาพ • สะอาด • สวมสบาย • สอดคล้องสถานการณ์ • เสริมบุคลิกภาพ

  8. 2.การปรากฎกาย • สง่างาม • จุดที่เหมาะสม • ยิ้มแย้มแจ่มใส • มีวัฒนธรรม

  9. 3. อิริยาบถ(ภาษากาย สายตา ภาษามือ) • เป็นกันเอง • เป็นธรรมชาติ • สอดคล้องกับเนื้อหา • สร้างเสริมความเข้าใจ

  10. การเริ่มต้นที่ดี • ทักทายที่ประชุม • แนะนำตัว • เกริ่นปูบรรยากาศหรือเปิดฉาก

  11. ลำดับขั้นตอนการพูด เชื่อมโยงประเด็นชวนติดตาม ตัวอย่างประกอบ/เปรียบเทียบเสริมสร้างความเข้าใจ สลับด้วยอารมณ์ขัน สร้างความสนุกสนาน การดำเนินเรื่อง

  12. หลัก 3 สบาย 1. ฟังสบายหู 2. ดูสบายตา 3. พาสบายใจ ศ.ดร. จิตรจำนงค์ สุภาพ) (The theory of three pleasant speech,

  13. ฟังสบายหู • ภาษาพูด น้ำเสียง จังหวะ • ระดับเสียงกับเนื้อหา

  14. ฟังสบายหู • เริ่มต้นด้วย ทักทายผู้ฟัง • น้ำเสียงเป็นธรรมชาติน่าฟัง เหมาะสมกับเรื่องราว • จังหวะการพูด เว้นวรรคตอนดี • ถูกต้องตามอักขระวิธี ทั้ง ร. ล. คำควบกล้ำ คำสรรพนาม • หลีกเลี่ยงการใช้คำซ้ำ คำฟุ่มเฟือย • ใช้ภาษาเหมาะสมกับกลุ่มผู้ฟัง

  15. 2.ดูสบายตา การปรากฏกาย จุดที่ยืน ภาษากาย ลีลา สายตา มือ

  16. ดูสบายตา • การแต่งกาย เครื่องประดับ ยึดหลักสุภาพ ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องราว สถานที่ ฯ • บุคลิกภาพการแสดงออก ยืน เดิน กิริยาท่าทาง เคลื่อนที่อย่างมีจุดหมาย • ลีลาการพูด การใช้ภาษากายทำได้เหมาะสม เช่นการใช้สายตา ใช้มือประกอบการพูดได้สอดคล้อง • การใช้อุปกรณ์หรือสื่อประกอบการพูด ทำได้คล่องแคล่ว ไม่ขลุกขลักเช่น ไมโครโฟน คอมพิวเตอร์

  17. 3.พาสบายใจ คุณค่าของเนื้อหาสาระ ลำดับหัวข้อที่ชัดเจน ตัวอย่างเสริมสร้างความเข้าใจ

  18. พาสบายใจ • ผู้ฟังได้เนื้อหาสาระครบถ้วน มีการเตรียมโครงเรื่อง จัดทำแผนไว้ล่วงหน้า ประกอบด้วย -ส่วนนำ แนบเนียนตื่นตา ปูเรื่องราว -ส่วนเนื้อหา เป็นขั้นตอน น่าสนใจชวนติดตาม -ส่วนสรุป ประทับใจ ได้ข้อคิด • มีเกร็ดความรู้ มีตัวอย่างประกอบเพื่อสร้างความเข้าใจและทำให้จดจำ

  19. ส่วนนำ 10 % • ส่วนเนื้อหา 75 % • ส่วนสรุป 15 % โครงของการพูด

  20. การเตรียมการพูด • วิเคราะห์ผู้ฟัง • เลือกเรื่อง • เขียนโครงเรื่อง • หาข้อมูลเสริม • ซักซ้อม

  21. ความสำเร็จของการพูด • เนื้อหา 50 % • บุคลิกภาพ 10 % • จิตวิทยาการพูด 20 % • ศิลปะการแสดง 20 %

  22. ขั้นตอนของการพูด • ปฏิสันถาร • เปิดฉากนำ/เกริ่นปูบรรยากาศ • เข้าเนื้อหา • สรุปจบ • อำลา

  23. คำถาม คำคม คำชม คำอ้างอิง ความระทึก ความฉงน ความขบขัน เพลงดนตรี เทคนิคการเปิดฉาก

  24. การจบอย่างประทับใจ • สรุปความอย่างกระชับ • เชิญชวน/ฝากแนวคิด • อำลา

  25. การพูดกับชีวิตและการงานการพูดกับชีวิตและการงาน 1 งานแต่งงาน 2 งานเปิดอบรม/สัมมนา 3 งานเลี้ยงรับ/ส่ง 4 งานรับรางวัลข้าราชการดีเด่น 5 การต้อนรับ/ขอบคุณ การมาเยี่ยมชม/ดูงาน 6 การเป็นพิธีกร/ผู้ดำเนินรายการ 7 การดำเนินการอภิปราย/เสวนา

  26. หลักคิดของการพูดในโอกาสพิเศษหลักคิดของการพูดในโอกาสพิเศษ • วิเคราะห์สถานการณ์/โอกาส • ทบทวนตนเองว่าพูดในฐานะ/บทบาทอะไรในงาน • คิด/วางโครงเรื่อง ตามหลักการ • ซักซ้อมในใจก่อนขึ้นเวที • ตอกย้ำความมั่นใจว่า.. OK!

  27. การพูดในงานเลี้ยงฉลองสมรสการพูดในงานเลี้ยงฉลองสมรส • กล่าวถึงความยินดีและเป็นเกียรติที่มาร่วมงาน • กล่าวถึงความสัมพันธ์กับเจ้าภาพ/บ่าว-สาว • กล่าวชื่นชมและความเหมาะสม • ให้โอวาท • อำนวยพร (และเชิญดื่ม)

  28. การพูดในการเปิดสัมมนา/อบรมการพูดในการเปิดสัมมนา/อบรม • กล่าวถึงความยินดีและเป็นเกียรติ • ชื่นชม ผู้จัด/ผู้ร่วมงานว่าจะส่งผลดีต่อ..... • ให้โอวาท/คำแนะนำ • อำนวยพรให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ • กล่าวเปิดการสัมมนา

  29. การกล่าวต้อนรับการมาเยี่ยมชม/ดูงานการกล่าวต้อนรับการมาเยี่ยมชม/ดูงาน • กล่าวถึงความยินดีต้อนรับที่....มาเยี่ยมชม • กล่าวสรุปถึงหน่วยงานพอสังเขป/เหมาะสม • เปิดให้ซักถาม • เชิญเข้าชมหน่วยงานและนำชม.... • ส่งกลับ/รับมอบของที่ระลึก/ถ่ายภาพ

  30. การกล่าวแสดงความรู้สึกในการรับรางวัลการกล่าวแสดงความรู้สึกในการรับรางวัล • กล่าวถึงความยินดีและเป็นเกียรติที่ได้รับรางวัล • ขอบคุณคณะกรรมการ/ผู้บังคับบัญชา/เพื่อน • ยืนยันการรักษาเกียรติยศของรางวัล • ปวารณาตัวถึงความพร้อมร่วมมือ/แนะนำ • ขอบคุณ

  31. การพูดในงานเลี้ยงรับ • กล่าวถึงความยินดีต้อนรับที่...ย้ายมาร่วมงาน • กล่าวชื่นชมและความเหมาะสม • ย้ำเป้าหมายและความร่วมมือของทุกคน • อำนวยพรให้มีความสุขในการมาร่วมงาน • มอบช่อดอกไม้

  32. การพูดในงานเลี้ยงส่ง • กล่าวถึงความรู้สึกเป็นเกียรติที่มาร่วมงาน • กล่าวชื่นชมผลงานและความสามารถเด่นๆ • กล่าวถึงความรัก/ความอาลัย • อำนวยพรให้มีความสุขและความสำเร็จ • ยืนยันความสัมพันธ์ที่เหมือนเดิม • มอบช่อดอกไม้

  33. หลักการเป็นพิธีกร • พิธีกร ทำเรื่องที่เป็นพิธีการ • พิธีกรไม่ใช่พระเอกของงาน แต่ทำให้ภาพรวมของงานดูดี • เป็นผู้สร้างและเชื่อมต่อบรรยากาศให้ต่อเนื่อง/ราบรื่น • รักษาธรรมเนียม/ประเพณี/ขั้นตอนที่เหมาะสม • ต้องดูสง่างามและน่าเชื่อถือ/แม่นยำ/มืออาชีพ • ต้องรู้บทบาท รู้เวลา รู้สถานการณ์ • สามารถให้คำแนะนำที่เหมาะสมแก่เจ้าภาพ

  34. การเตรียมการเป็นพิธีกรการเตรียมการเป็นพิธีกร • ศึกษาข้อมูลของงานว่า งานอะไร/ใครเป็นผู้จัด/วัตถุประสงค์/ผู้มาร่วมงาน/วัน-เวลา-สถานที่/ประธาน-บุคคลสำคัญในงาน • เรารับผิดชอบในส่วนใด/เวลาใดของงาน • ศึกษาพิธีการ/ขั้นตอนที่กำหนดไว้ • ทบทวน/แนะนำ(ถ้าเหมาะสม) • เตรียมสคริปต์และซักซ้อม • พักผ่อนให้เต็มที่

  35. การขึ้นเป็นพิธีกร • ขึ้นเวทีอย่างสง่างามและมีความมั่นใจ • พูดอย่างสุภาพและมีข้อมูลแจ้งให้ทราบ • สร้างมิตรภาพและบรรยากาศที่เหมาะสมกับงาน • นำเข้าสู่พิธีการอย่างแนบเนียน/น่าสนใจ • สร้างจุดเด่นให้กับงาน(บ่าว-สาว/ผู้รับรางวัล) • ดำเนินการต่อเนื่อง/ราบรื่น/เชื่อมต่อบรรยากาศ • ปิดบทบาทอย่างดี/มีเทคนิค

  36. รายงานการศึกษาดูงาน • ทักทาย / เกริ่นนำ • กล่าวถึงวันเวลาสถานที่ที่ไปดูงาน • ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการศึกษาดูงาน • ลำดับข้อมูลสำคัญของผลการศึกษาดูงาน • เสนอแนวคิดสร้างประโยชน์พร้อมประโยคสรุปจบ

  37. รายงานตัวในที่ประชุม( กรณีรับตำแหน่งใหม่ ) • ทักทาย • แนะนำชื่อ – สกุล • การศึกษา • ประสบการณ์ อดีต – ปัจจุบัน • ครอบครัว • เสนอตนเพื่อช่วยงาน • เน้นย้ำชื่อ-สกุลอีกครั้ง

  38. TIPS • สื่อกับสีสัน • มีสื่อ กับ ไม่มีสื่อ • ข้อความในสื่อ • จังหวะการใช้สื่อ

  39. อักษรหนังสือ • ภาพ • สิ่งของ สื่อประกอบ

  40. สัจธรรมของการพูด • พูดแล้วมีคนฟัง นั้นยาก • พูดแล้วมีคนเข้าใจ นั้นยากกว่า • พูดแล้วมีคนเชื่อตาม นั้นยากที่สุด

  41. Module 2.หลักและเทคนิคสำหรับวิทยากร - หลักการเรียนรู้แบบวิทยากรเป็นศูนย์กลาง - หลักการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง - เทคนิคที่สำคัญของวิทยากร

  42. วิทยากร (Resource Person) • ผู้บรรยาย (Lecturer) • ผู้สอน (Teacher) • พี่เลี้ยง (Mentor) • ผู้ฝึก (Trainer) • ผู้สร้างการเรียนรู้ (Instructor) (ดร.สุวิทย์ มูลคำ)

  43. สิ่งที่ Trainers ต้องมี... • ทัศนคติที่ดีต่อการเป็น Trainer • วินัย คุณธรรม จริยธรรม • บุคลิก และพฤติกรรมที่เป็นต้นแบบได้ • ความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ สาขา งานที่จะสอนเป็นอย่างดี • เทคนิคและทักษะการสื่อสาร • จิตวิทยาและศิลปะการพูดเพื่อการถ่ายทอด • ความเป็นนักคิด (Thinker)

  44. การเรียนรู้มี 2 ประเภท • Surface Learning • เรียนรู้แบบผิวเผิน เกิดความรู้ ความเข้าใจแบบพื้นฐาน • Deep Learning • เรียนรู้แบบลึกซึ้ง เกิดการเรียนรู้ แล้วมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์อื่นๆได้ (Marton and Saljo, 1976)

  45. วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ • ความรู้ (Knowledge) • ความเข้าใจ(Understanding) • ทักษะ (Skills) • ทัศนคติ (Attitude) KUSA

  46. การคัดเลือกเนื้อหา เนื้อหาสำคัญที่ “ ต้องรู้ ” (Must Know) ‚เนื้อหารองที่ “ ควรรู้ ” (Ought to Know) ƒเนื้อหาประกอบที่ “ น่าจะรู้ ” (Should Know)

  47. การสอนผู้ใหญ่ (Adult Teaching) คือ การใช้เทคนิควิธีการต่างๆ ให้ผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการสอนนั้นๆ

  48. วิธีการสอนมีหลายวิธี อาทิเช่น • การบรรยาย (Lecture) • กรณีศึกษา (Case Study) • การสาธิต (Demonstration) • การแสดงบทบาท (Role Play) • สถานการณ์จำลอง (Simulation) • เกม (Game)ฯลฯ

  49. การอบรมที่วิทยากรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การอบรมที่วิทยากรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ การบรรยาย (Lecture)

  50. การบรรยาย (Lecture) • วัตถุประสงค์ Uบอกเล่าหรืออธิบายเนื้อหาในเวลาจำกัด • วิธีการ • บอกเล่าหรืออธิบายตามขั้นตอนเนื้อหา ที่ได้เตรียมไว้ ง่ายและสะดวกกับคน หลายๆกลุ่ม หลายๆขนาด • การประเมินความสำเร็จ Uแบบประเมิน, ถาม-ตอบ, สังเกตุ

More Related