1 / 38

ประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียน. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักษ์ พันธ์ชูเพชร. กลุ่มประเทศอาเซียน. ประเทศบรูไนดา รุส ซาลาม ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศสหภาพพม่า ประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

Download Presentation

ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมอาเซียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร

  2. กลุ่มประเทศอาเซียน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศสหภาพพม่า ประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศราชอาณาจักรไทย

  3. ประชาคมอาเซียน เศรษฐกิจ ประชาคมอาเซียน การเมืองและความั่นคง สังคมและ วัฒนธรรม

  4. เสาหลักอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

  5. เศรษฐกิจไทยในอาเซียน ประชากรไทย (68 ล้านคน) สูงอันดับที่ 4 ของอาเซียน รองจาก อินโดนีเซีย (235 ล้านคน) ฟิลิปปินส์ (94 ล้าน) เวียดนาม (89 ล้านคน) GDP สูงเป็นอันดับที่ 2 ของเอเชีย รองจากอินโดนีเซีย มูลค่าการส่งออกเป็นอันดับที่ 2 รองจากสิงคโปร์ มูลค่าการนำเข้าเป็นอันดับที่ 2 รองจากมาเลย์เซีย

  6. สินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียนสินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียน

  7. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community : AEC

  8. การขยาย FTAของอาเซียน-อนาคต ASEAN 10 : ประชากร 583 ล้านคน (9% ของประชากรโลก)/GDP 1,275 พันล้าน US$ (2% ของ GDP โลก) ASEAN +3 : ประชากร 2,068 ล้านคน (31% ของประชากรโลก)/GDP 9,901 พันล้าน US$ ASEAN +6 : ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก)/GDP 12,250 พันล้าน US$

  9. AECได้หรือเสีย?

  10. ผลที่คาดว่าจะได้ใน AEC เมื่อภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ (0)ทำให้วัตถุดิบ/สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากประเทศใน AECนำเข้าถูกลงทำให้ประเทศได้เปรียบด้านราคา/คุณภาพในการผลิตเพื่อส่งออก เมื่อมีการรวม 10 ประเทศเป็นหนึ่งเดียว ทำให้ขนาดของตลาดใหญ่ขึ้นเกิดการประหยัดต่อขนาด (economy of scale) เมื่อการลงทุนในAECทำได้โดยเสรี ทำให้สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะสมเป็นแหล่งผลิต

  11. ผลที่คาดว่าจะได้ในAEC(ต่อ)ผลที่คาดว่าจะได้ในAEC(ต่อ) เป็นฐานการผลิตร่วมใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ Least Developed Countries : LDCs เมื่อมีความร่วมมือด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้า ทำให้ระบบโลจิสตกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง เมื่อมีการทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี ทำให้ฐานธุรกิจบริการอยู่ที่ใดก็ได้ในอาเซียน แก้ปัญหาการคลาดแคลนแรงงานฝีมือ เมื่อมีการทำ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ เช่น ASEAN +1, +3, +6 ทำให้ประเทศมีความได้เปรียบทางภาษีนำเข้ากว่าคู่แข่งอื่นนอกอาเซียน

  12. ผลที่คาดว่าจะได้ในAEC(ต่อ)ผลที่คาดว่าจะได้ในAEC(ต่อ) เมื่อภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ (0) อุปสรรคนอกเหนือภาษีหมดไป ทำให้เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน เมื่อมีการรวม 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่งเดียว ทำให้ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง เมื่อมีการใช้ฐานการผลิตร่วม ทำให้บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับหรือเคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้าโดยคู่แข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานผลิต เมื่อมีการลงทุนในอาเซียนได้โดยเสรี ทำให้คู่แข่งเข้ามาแข่งถึงในประเทศของเรา เมื่อมีการทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี ทำให้อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ เมื่อมีการทำ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEN+1, +3, +6 ทำให้นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้ว ยังมีเพิ่มอีก 3 หรือ 6

  13. ความเชื่อมโยงในเชิงจิตวิญญาณความเชื่อมโยงในเชิงจิตวิญญาณ การทำให้ประชาชนในภูมิภาคมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ตระหนักถึงความหลากหลายในด้านเชื้อชาติ และศาสนา

  14. รากฐานทางประวัติศาสตร์และอารยธรรมร่วมกันรากฐานทางประวัติศาสตร์และอารยธรรมร่วมกัน เนื่องจากเป็นภูมิภาคที่เป็นจุดบรรจบของ อารยธรรมจีนและอินเดีย

  15. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เป็นเสาสำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จและความมั่นคงของอีก 2 เสาหลัก เนื่องจากสามารถเชื่อมโยงด้วยศิลปวัฒนธรรม มิใช่ด้วยกำไรหรือวัตถุ เนื่องจากเรื่องของศิลปวัฒนธรรมเป็นเรื่องของสุนทรียภาพ ความดื่มด่ำ GDP วัดไม่ได้ บ่งบอกด้วยปริศนาตัวเลขไม่ได้ เพราะเป็นองค์ประกอบสำคัญของการเป็นมนุษย์ในสังคม

  16. ปัจจัยนำไปสู่อัตลักษณ์อาเซียนปัจจัยนำไปสู่อัตลักษณ์อาเซียน การศึกษา ศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นสิ่งบรรพบุรุษสั่งสมมา เป็นมรดกที่แตกต่าง

  17. ความขัดแย้งมรดกทางวัฒนธรรมความขัดแย้งมรดกทางวัฒนธรรม ขัดแย้งกันว่ามรดกทางวัฒนธรรมนั้นเป็นของตน เพราะสิ่งนี้คือทุนทางสังคมวัฒนธรรม (social cultural capital) ที่สำคัญ ดังนั้นทำอย่างไรให้ทรัพยากรนี้เพิ่มพูน ทำอย่างไรให้ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมีอนาคตร่วมกันและผูกพันกันเพื่อนำไปสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มรดกทางวัฒนธรรมมีความหลากหลาย (diversity) หากไม่ระวังก็จะโดนวัฒนธรรมหลักกลืน ซึ่งเกิดจากระบบเศรษฐกิจสังคมปัจจุบันที่ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นกระแสหลักลัทธิบริโภคนิยมไหลบ่าอย่างรุนแรงผู้คนมีความชอบเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน ซึ่งส่งผลให้โลกนี้หมดความน่าเสน่ห์หาลงไปมาก

  18. ความขัดแย้งมรดกทางวัฒนธรรม (ต่อ) อาเซียนก็จะหมดเสน่ห์ และยังนำไปสู่ความขัดแย้งและความรุนแรงต่างๆ ดังนั้น ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนจึงต้องส่งเสริม สนับสนุนความหลากหลาย Creativity ทำให้เกิด cultural products ซึ่งสามารถให้การท่องเที่ยวนำไปจ่ายได้ เช่น อาหารในภูมิภาคต่างๆ มีพลวัตรในการสร้างสรรค์จากแต่ละหน่วยวัฒนธรรมต่างๆ

  19. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิก มีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน มีเสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

  20. องค์ประกอบ มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ แก้ปัญหาความมั่นคง มีพลวัตร คงความเป็นศูนย์กลาง และบทบาทของอาเซียน

  21. 1. มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน เพื่อสร้างความแข็งแกร่งแก่ประชาธิปไตย ส่งเสริมธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน

  22. 1.มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน 1.1 ความร่วมมือด้านการพัฒนาการทางการเมือง 1.2 การสร้างและแบ่งปันกฎเกณฑ์ร่วมส่งเสริมบรรทัดฐานแนวปฏิบัติที่ดี ระดับภูมิภาค ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนให้เป็นไปตามกฎบัตรอาเซียน เสริมสร้างความร่วมมือภายใต้สนธิสัญญามิตรภาพ และความร่วมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ • ส่งเสริมความเข้าใจ การยอมรับระบอบการเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของสมาชิก • อำนวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยเสรี เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน • ส่งเสริมธรรมาภิบาล • ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน • ป้องกันและปราบปรามการทุจริต

  23. 2. มีเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกร่ง พร้อมรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมทุกมิติ 2.1 ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เพื่อลดความตึงเครียด 2.2 แก้ไขความขัดแย้งและการระงับข้อพิพาทโดยสันติ เพื่อให้เกิดสันติภาพและความสงบสุขในภูมิภาค ระงับการใช้กำลัง พัฒนารูปแบบการระงับข้อพิพาทโดยสันติเพิ่มเติม โดยจัดตั้งกลไกระงับข้อพิพาท เสริมสร้างกิจกรรมการค้นคว้าวิจัยเรื่องสันติภาพ การจัดการและการแก้ไขความขัดแย้ง ส่งเสริมความร่วมมือในภูมิภาค เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและเสถีรภาพ • เสริมสร้างมาตรการการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ โดยแลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ทหารและกลาโหม แบ่งปันข้อมูลระหว่างสมาชิกในการส่งข้อมูลต่อทะเบียนอาวุธตามแบบสหประชาชาติ • ส่งเสริมความโปร่งใส และความเข้าใจในนโยบายกลาโหม โดยระบบเตือนภัยล่วงหน้า • เสริมสร้างความร่วมมือด้านการป้องกันทางทหาร และความมั่นคงอาเซียน โดยพัฒนาโครงการร่วมมือระหว่างหน่วยงานทหาร

  24. 2.3 สร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง เพื่อวางพื้นฐานการสมานฉันท์และสร้างความมั่นใจว่าจะไม่เกิดความรุนแรงในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ เช่น การช่วยเหลือทางมนุษยธรรม 2.6 ตอบสนองต่อประเด็นเร่งด่วน หรือสถานการณ์วิกฤตที่ส่งผลกระทบอาเซียน 2.4 ตอบสนองภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทั้งอาชญากรรมข้ามชาติ และความท้าทายข้ามแดน เช่น การให้สัตยาบันสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เรื่องความอาญาระหว่างประเทศ และการมุ่งยกระดับให้เป็นสนธิสัญญาอาเซียน เสริมสร้างความยุติธรรมทางอาญาต่ออาชญากรค้ามนุษย์ เสริมสร้างให้อาเซียนปราศจากยาเสพติด ภายในปี 2558 ควบคุมการแพร่ขยายของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ให้สัตยาบันในการต่อต้านการก่อการร้ายโดยเร็ว 2.5 ความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน

  25. 3. มีพลวัตร คงความเป็นศูนย์กลาง และบทบาทของอาเซียน เพื่อส่งเสริมและรักษาความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรและเป็นประโยชน์กับประเทศภายนอก เพื่อสันติภาพโลก และดำเนินบทบาทที่สำคัญในเวทีระดับภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศ เพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน 3.2 ส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศภายนอก 3.3 เสริมสร้างความร่วมมือในประเด็นพหุภาคีที่เป็นความกังวลร่วมกัน 3.1 ส่องเสริมอาเซียนให้เป็นศูนย์กลางในความร่วมมือระดับภูมิภาคและการสร้างประชาคม

  26. 1.ประเทศสิงคโปร์ • จุดแข็ง• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุดของอาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก• การเมืองมีเสถียรภาพ• เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศ• แรงงานมีทักษะสูง• ชำนาญด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล และธุรกิจ• มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางเดินเรือจุดอ่อน• พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบและขาดแคลนแรงงานระดับล่าง• ค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจสูงประเด็นที่น่าสนใจ• พยายามขยายโครงสร้างเศรษฐกิจมายังภาคบริการมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกสินค้า

  27. 2.ประเทศอินโดนีเซีย • จุดแข็ง• ขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้• ตลาดขนาดใหญ่ (ประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)• มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและจำนวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ• ระบบธนาคารค่อนข้างแข็งแกร่งจุดอ่อน• ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว• สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศประเด็นที่น่าสนใจ• การลงทุนส่วนใหญ่เน้นใช้ทรัพยากรในประเทศเป็นหลัก

  28. 3.ประเทศมาเลเซีย • จุดแข็ง• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก• ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร• แรงงานมีทักษะจุดอ่อน• จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับล่างประเด็นที่น่าสนใจ• ตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” ในปี 2563• ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทย• มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง

  29. 4.ประเทศบรูไน • จุดแข็ง• รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก• การเมืองค่อนข้างมั่นคง• เป็นผู้ส่งออกน้ำมัน และมีปริมาณสำรองน้ำมันอันดับ 4 ของอาเซียนจุดอ่อน• ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4 แสนคน• ขาดแคลนแรงงานประเด็นที่น่าสนใจ• มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิดกับสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย• การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพาสิงคโปร์เป็นหลัก• ให้ความสำคัญกับความมั่นคงทางอาหารค่อนข้างมาก

  30. 5.ประเทศฟิลิปปินส์ • จุดแข็ง• ประชากรจำนวนมากอันดับ 12 ของโลก (>100 ล้านคน)• แรงงานทั่วไปมีความรู้-สื่อสารภาษาอังกฤษได้จุดอ่อน• ที่ตั้งห่างไกลจากประเทศสมาชิกอาเซียน• ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสวัสดิภาพทางสังคมยังไม่พัฒนาเท่าที่ควรประเด็นที่น่าสนใจ• สหภาพแรงงานมีบทบาทค่อนข้างมาก และมีการเรียกร้องเพิ่มค่าแรงอยู่เสมอ• การลงทุนส่วนใหญ่เป็นการรองรับความต้องการภายในประเทศเป็นหลัก

  31. 6.ประเทศเวียดนาม • จุดแข็ง• ประชากรจำนวนมากอันดับ 14 ของโลก (~90 ล้านคน)• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก• มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 กิโลเมตร• การเมืองมีเสถียรภาพ• ค่าจ้างแรงงานเกือบต่ำสุดในอาเซียน รองจากกัมพูชาจุดอ่อน• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร• ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสำนักงานค่อนข้างสูงประเด็นที่น่าสนใจ• มีรายได้และความต้องการสูงขึ้นจากเศรษฐกิจที่โตเร็ว

  32. 7.ประเทศกัมพูชา • จุดแข็ง• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้ และแร่ชนิดต่างๆ• ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USD/day)จุดอ่อน• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร• ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำ ไฟฟ้า และการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง• ขาดแคลนแรงงานมีทักษะประเด็นที่น่าสนใจ• ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจบั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุนระหว่างกันในอนาคตได้

  33. 8.ประเทศลาว • จุดแข็ง• มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ• การเมืองมีเสถียรภาพ• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 USD/day)จุดอ่อน• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร• พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออกสู่ทะเลประเด็นที่น่าสนใจ• การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างพื้นฐาน พลังงานน้ำ และเหมืองแร่

  34. 9.ประเทศพม่า • จุดแข็ง• มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมันและก๊าซธรรมชาติจำนวนมาก• มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย• ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.5 USD/day)จุดอ่อน• ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร• ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบายประเด็นที่น่าสนใจ• การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศเชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟความเร็วสูง และท่าเรือ

  35. 10.ประเทศราชอาณาจักรไทย10.ประเทศราชอาณาจักรไทย • จุดแข็ง• เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการรายใหญ่ของโลก• ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ• สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง• ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง• แรงงานจำนวนมากจุดอ่อน• แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ• เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลางประเด็นที่น่าสนใจ• ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้าน อาทิ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และศูนย์กลางการท่องเที่ยว• ดำเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจัง

  36. เตรียมความพร้อมสำหรับ AEC สำหรับผู้ประกอบการไทย หาแหล่งวัตถุดิบใน AEC เพื่อได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิต นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้านราคา/คุณภาพ ศึกษาความต้องการของผู้บริโภคใน AEC เพื่อเพิ่มผลผลิตและขยายตลาดให้กว้างขึ้น ขายให้ตลาดใหญ่ขึ้นและใช้ประโยชน์ economy of scale ศึกษาความเป็นไปได้ในการย้ายฐานการผลิตไปยัง AEC เพื่อความได้เปรียบในการผลิต เช่น ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไป AEC และนอก AEC เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ Least Developed Countries : LDCs และสามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต พัฒนาและปรับตัวระบบโลจิสติกส์และระบบการบริหารจัดการต่างๆ ให้เชื่อมโยง AEC ได้พัฒนาระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาค ทำให้สะดวกและถูกลง ศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อตั้งธุรกิจที่ใช้แรงงานจาก AEC ฐานธุรกิจอยู่ที่ใดก็ได้ในอาเซียน แก้ปัญหาการคลาดแคลนแรงงานฝีมือ เปิด/เจาะตลาดคู่ค้าของอาเซียน อาศัยความได้เปรียบทางภาษีนำเข้ากว่าคู่แข่งอื่นนอกอาเซียน

  37. การเตรียมความพร้อม ความพร้อมด้านภาษา ความพร้อมด้านความรู้/ความสามารถ/ทักษะ ความพร้อมด้านการใช้เทคโนโลยี

  38. “...เราเป็นได้เพียงพลุส่องทาง ที่ถูกจุดขึ้นเพื่อส่องแสง โดยการเผาไหม้ตนเอง เพื่อให้พวกเราทุกคน สามารถมองเห็น เส้นทางในการนำพา ชีวิตและสังคมสู่ความสำเร็จ...” jakdr@hotmail.com 081-9161649 www.ajarnjak.com Face book:www.faecbook.com/ajarnjak

More Related