1 / 35

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (corporate Income tax)

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (corporate Income tax). บทนำ. ภาษีเงินได้นิติบุคคลถูกตั้งข้อสังเกตว่าเป็นสาเหตุหลัก ให้มีการชลอของการเพิ่ม productivity ในธุรกิจ และอาจใช้นำไปสู่การเพิ่มการลงทุนในสินทรัพย์ที่มีผลิตภาพการผลิต เพื่อลดภาระภาษี นอกจากนี้ยังช่วยป้องกันความก้าวหน้าของภาษีโดยรวม. บทนำ.

megan
Download Presentation

ภาษีเงินได้นิติบุคคล (corporate Income tax)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล (corporate Income tax)

  2. บทนำ • ภาษีเงินได้นิติบุคคลถูกตั้งข้อสังเกตว่าเป็นสาเหตุหลัก ให้มีการชลอของการเพิ่มproductivity ในธุรกิจ และอาจใช้นำไปสู่การเพิ่มการลงทุนในสินทรัพย์ที่มีผลิตภาพการผลิต เพื่อลดภาระภาษี • นอกจากนี้ยังช่วยป้องกันความก้าวหน้าของภาษีโดยรวม

  3. บทนำ • หัวข้อการศึกษา: • เรียนรู้ความหมายของภาษีเงินได้นิติบุคคล • ผลของภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการตัดสินใจลงทุน • ผลของภาษีเงินได้นิติบุคคลกับวิธีการ financing เพื่อการลงทุน

  4. ภาษีนิติบุคคลคืออะไร และ ทำไมต้องเก็บภาษีนี้? • ผู้ถือหุ้น Shareholdersคือบุคคลที่เป็นเจ้าของ หรือลงทุนซื้อหุ้นเพื่อเข้าร่วมเป็นเจ้าของกิจการ • ทำให้มี limited liability – กล่าวคือผู้เป็นเจ้าของกิจการไม่ต้องร่วมรับผิดชอบภาระหนี้สินของกิจการ

  5. ภาษีนิติบุคคลคืออะไร และ ทำไมต้องเก็บภาษีนี้? ความเป็นเจ้าของกับการควบคุม • การถือหุ้นของกิจการกับการเป็นเจ้าของถูกแยกออกจากกัน ทำให้เกิดปัญหาตัวแทน (Agency problem) • ปัญหาagency problemทำให้เกิดความสับสนกันระหว่างความเป็นเจ้าของกับการบริหารจัดการของกิจการ • ตัวอย่างผู้บริหารอาจมุ่งพัฒนากิจการเพื่อสัดส่วนตลาดของกิจการ แต่เจ้าของมุ่งเพื่อเงินปันผล

  6. ทำไมต้องเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลทำไมต้องเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล • การเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลคือการเก็บภาษีกับปัจจัยการผลิต ตามที่ได้เคยศึกษาภาระแท้จริงของภาษี • ทำไมจึงไม่เก็บภาษีโดยตรงกับปัจจัยการผลิต คำตอบมีเหตุผลสองประการ: • ภาษีกำไรที่แท้จริง pure profits tax ที่ได้จากการประกอบการ ไม่ได้ทำให้เกิดการบิดเบือนของผลผลิต เพราะกำไรแท้จริงมาจากรายได้ที่ได้รับเกินกว่าที่รายจ่ายที่ให้แก่ปัจจัยการผลิต ที่ไม่ทำให้เกิดการบิดเบือนการใช้ปัจจัยการผลิต • กำไรสะสม Retained earnings เปิดโอกาสให้มีการหลบภาระภาษี

  7. โครงสร้างภาษีนิติบุคคล จากการหารายได้ (Earnings) • Earningsคือรายรับของกิจการที่ได้จากการขายสินค้าและบริการในตลาด • Expenses รายจ่าย คือรายจ่ายที่จ่ายออกไปเพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ ประกอบด้วย • กระแสเงินสดใช้ในการดำเนินธุรกิจ เช่นเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าวัตถุดิบค่สาธารณูปโภค ฯลฯ • การยอมหักค่าเสื่อม (DepreciationAllowance) • ค่าเสื่อมทางเศรษฐศาสตร์ (Economic depreciation) คือค่าสึกหรอแท้จริงของเครื่องจักรหรือการลงทุนในอดีตที่ผ่านมา เช่น เครื่องจักรที่ซื้อมาด้วยราคา 10,000 บาท ต่อมาหลังใช้งานมีการสึกหรอเหลือมูลค่าแท้จริงเพียง 9,000 [ท ค่าเสื่อมที่หายไปจริงคือค่าเสื่อมทางเศรษฐศาสตร์ แต่ในทางปฏิบัติคำนวณหาค่าได้ยาก จึงยอมให้มีการหักค่าเสื่อมเป็นระยะ (depreciation schedules)

  8. การหักลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล: กรณีลดหย่อนค่าเสื่อมราคาของทุน • ตัวอย่าง ธุรกิจมีทรัพย์สินมูลค่า 100,000 โดยมีอายุใช้งาน 10 ปี กำหนดให้การหักลดหย่อนเป็นแบบเส้นตรงในอัตรา discount rate 10% • หากอัตราภาษีเท่ากับ ร้อยละ 35 การลดหย่อนจะมีมูลค่า 18,433.8 บาทตามมูลค่าปัจจุบัน ช่วยลดภาระภาษีลงจาก 100,000 เหลือเพียง 81,566.2 บาท

  9. การหักลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล: กรณีลดหย่อนค่าเสื่อมราคาของทุน • หากเป็นการลดหย่อน 5 ปี ในอัตราร้อยละ 10: • อัตราภาษีร้อยละ 30 มูลค่าการลดหย่อนคือ 22,744.8 ในมูลค่าปัจจุบัน ทำให้ฐานภาษีแท้จริงลดเหลือ 77,255.2 บาท

  10. ภาระภาษีของภาษีนิติบุคคลภาระภาษีของภาษีนิติบุคคล • การวิเคราะห์ภาระภาษีแบบดุลยภาพทั่วไปสามารถใช้ในการประเมินภาระภาษีนิติบุคคลได้ชัดเจน ว่าการเก็บภาษีนิติบุคคลใครคือผู้รับภาระที่แท้จริง เพราะการผลักภาระสามารถทำได้ทั้งการผลักไปข้างหน้า ซี่งทำได้ง่าย เพราะ demand ของสินค้ามักไม่ perfectly elastic หรือผลักไปข้างหลังให้แก่ปัจจัยการผลิต

  11. ภาระภาษีของภาษีนิติบุคคลภาระภาษีของภาษีนิติบุคคล • บริษัทก็ต้องรับภาระภาษีบางส่วนเพราะก็มี elasticity และจะกระจายภาระภาษีให้แก่ปัจจัยการผลิตต่างๆ ที่ใช้ในการผลิต • โดยการผลิตทั่วไปใช้แรงงานที่ไม่มี perfectly elastic เช่นกันจึงต้องร่วมรับภาระภาษีด้วย ขณะเดียวกัน • ในระยะสั้น ที่ทุนเครื่องจักรที่ความจริงแล้ว ไม่อาจเคลื่อนย้ายได้ง่าย จึงต้องรับภาระภาษีเป็นส่วนใหญ่ • ในระยะยาวที่เครื่องจักรสามารถเคลื่อนย้ายได้ระหว่างภาคการผลิตหรือย้ายไปต่างประเทศ จึงมีปัจจัยทุนอ่อนไหวและมีการปรับตัวของปัจจัยทุนได้ง่าย • การปรับตัวของปัจจัยการผลิตที่เกิดภายในประเทศจะส่งผลต่อการผลิตนอกภาคธุรกิจหรือ non-corporate ได้ ดังนั้นทุกๆ ภาคส่วนในระบบเศรษฐกิจจึงรับภาระภาษีร่วมกัน

  12. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนการวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุน • การตัดสินใจลงทุนทั่วไปอาศัยการเปรียบเทียบระหว่าง MB: marginal benefits กับ MC ของการลงทุน • ภาษีนิติบุคคลจึงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ MB, MC รวมทั้งการคิดค่าเสื่อม จึงมีผลต่อการตัดสินใจลงทุน

  13. MB1 =FK The firm equates marginal benefit and marginal cost. Cost and return per dollar of investment A MC1=δ+ α Investment (K) K1

  14. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนการวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุน • จะพบว่า MB ของการผลิตคือ productivity ของการลงทุนนั่นเองกำหนดให้เป็น FK. • MB ถูกกำหนดให้เป็น diminishing marginal returns เหมือนการผลิตทั่วไป • ในที่กำหนดให้ MC คงที่ตลอด โดยเท่ากับผลรวมของค่าเสื่อในแต่ละรอบเวลาที่หัก (δ) และต้นทุนการลงทุน financing costs (α). • กำหนดให้การลงทุนเท่ากับ K1.

  15. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนการวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุน • สิ่งที่ต้องการเรียนรู้คือภาษีนิติบุคคลจะมีผลต่อการตัดสินใจลงทุนอย่างไร • การเก็บภาษีทำให้ผลตอบแทนจากการลงทุน คือ MB หรือ Fkลดจาก FKเป็น(1-ᴦ)FK • โดยᴦคืออัตราภาษี

  16. MB1 =FK Taxes on corporations lower the marginal benefit. Cost and return per dollar of investment MB2=FK(1-ᴦ) B A MC1=δ+ α Investment (K) K1 K2

  17. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนการวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุน • ผลของภาษีทำให้ MB shift ลงเป็น MB2. • ธุรกิจจะลงทุนน้อยลง โดยรัฐบาลจะได้ภาษีนิติบุคคลจากผลตอบแทนของเอกชน • อย่างไรก็จะสังเกตุได้ว่าผลตอบแทนหลังภาษียังมากกว่าต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายคือค่าเสื่อมและต้นทุนการลงทุน(δ+α). • การลงทุนจึงลดลงเป็น K2.

  18. While taxes on corporations reduce investment, tax credits increase it. MB1 =FK Cost and return per dollar of investment MB2=FK(1-ᴦ) B A MC1=δ+ α C MC2=(δ+α)(1-ᴦZ) Investment (K) K3 K1 K2

  19. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนกรณีการตัดสินใจเลือกการ finance การลงทุน • ประเด็นคือ: • ผลของภาษีกับการ financing • เหตุผลทำไมธุรกิจจึงเลือกวิธีการ finance การลงทุนด้วยวิธีระหว่าง หนี้ กับ ความเป็นเจ้าของ

  20. ภาษีนิติบุคคลกับการหาเงินลงทุน • บริษัทมีทางเลือกการหาแหล่งเงินทุนสองทางคือ: • Debt finance • Equity finance

  21. ภาษีนิติบุคคลกับการหาเงินลงทุน • Debt financeคือวิธีหาเงินทุนจากการกู้ยืมไม่ว่าจากสถาบันการเงินหรือจากผู้ให้กู้อื่นๆ • วิธีการอาจทำโดยการกู้จากสถาบันการเงินเช่นธนาคาร บริษัทเงินทุน ฯลฯ หรือโดยการใช้วิธีการออกพันธบัตร corporate bonds. • Bondsคือการสัญญาว่าจะชำระคืนเงินกู้หลังจากช่วงเวลาหนึ่งๆ พร้อมกับการจ่ายดอกเบี้ยตามที่ได้กำหนดไว้ให้แก่ผู้ซื้อพันธบัตร ที่มีฐานะเป็นผู้ให้กู้แก่กิจการ

  22. ภาษีนิติบุคคลกับการหาเงินลงทุน • Equity financeคือการหาเงินลงทุนจากส่วนผู้ถือหุ้น ที่ทำให้เพิ่มความเป็นเจ้าของของผู้ถือหุ้น • โดยผู้ถือได้ผลตอบแทนสองวิธี คือการรับเงินปันผล กับ capital gains.

  23. Firms can raise money with debt finance, paying interest on bonds. Firms can raise money with equity finance, paying dividends and/or capital gains.

  24. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนกรณีการตัดสินใจเลือกการ finance การลงทุน • สมมุติธุรกิจต้องการเงินทุน จำนวน 10 บาท สำหรับใช้ในการลงทุนที่ให้ผลตอบแทน 1 บาทในแต่ละปี • ทางเลือกการลงทุนทำได้โดย • การกู้ยืม debts หรือ • การใช้ส่วนของทุน equity ที่ต้องเลือกว่าจะจ่ายหรือไม่จ่ายเงินปันผลหรือเก็บเป็นกำไรสะสม retain earnings.

  25. การจ่ายคืนเงินกู้สามารถหักลดหย่อนได้ แต่การจ่ายเงินปันผล เป็นการผลักภาระให้แก่ผู้ถือหุ้น

  26. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนกรณีการตัดสินใจเลือกการ finance การลงทุน • เมื่อธุรกิจจ่ายเงินกู้แก่ผู้ให้กู้ในรูปของดอกเบี้ยจ่าย • ธุรกิจไม่ต้องจ่ายภาษีจากรายได้ดังกล่าว เพราะจะถูกนำไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายของธุรกิจ • เป็นผู้ให้กู้แก่ธุรกิจจะเป็นผู้รับภาระภาษีที่ได้รับผลตอบแทนจากการให้กู้ยืมในอัตรา 1 x (1-ti)

  27. การวิเคราะห์ภาษีนิติบุคลกับการตัดสินใจลงทุนกรณีการตัดสินใจเลือกการ finance การลงทุน • หากธุรกิจใชวิธีการผ่านส่วนเจ้าของ (Equity) โดยการขายหุ้นออกไป ธุรกิจจะไม่ได้รับการลดหย่อนค่าใช้จ่าย • ธุรกิจจะประสบกับอัตราภาษีนิติบุคคลที่ 1x(1-tC) ที่จะถูกกระจายให้แก่ผู้ถือหุ้นทุกๆ คน • ผู้ถือหุ่นแต่ละคนจะได้รับผลตอบแทนสุทธิคือ • 1(1-tC) x (1-tDIV).

  28. ผลของภาษีนิติบุคคลกับการ financing • จากที่แสดงพบว่าภาษีที่เก็บจะมีมีกับการเป็นเจ้าของมากกว่าการกู้ยืม ทำให้เกิดประเด็นคือ: • ทำไมธุรกิจไม่ใช่วิธีการกู้ยืมทั้งหมด และ • ทำไมจึงไม่เก็บกำไรไว้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มหรือ capital gain ของมูลค่าหุ้น แทนที่จะนำไปจ่ายปันผล • การเป็นหนี้ต้องการจ่ายจริง แต่ส่วนของทุนไม่จำเป็น (debt requires fixed payments while equity does not)

  29. โครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทยโครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทย ในอดีตอัตราภาษี​เงิน​ได้นิติบุคคลของ​ไทยมีลักษณะก้าวหน้า (progressive rate) ต่อมา​ได้ปรับ​เป็นอัตรา​เดียว (flat rate) ​โดย​แยก​เป็นอัตราภาษีสำหรับนิติบุคคล 2 ประ​เภท ​ได้​แก่นิติบุคคลทั่ว​ไปกับนิติบุคคลที่จดทะ​เบียน​ในตลาดหลักทรัพย์​แห่ง ประ​เทศ​ไทย ​เพื่อส่ง​เสริมกิจ​การของตลาดหลักทรัพย์​แห่งประ​เทศ​ไทยที่​เพิ่งมี​การ จัดตั้งขึ้น​ในขณะนั้น จนกระทั่งปี 2535 ​ได้ปรับปรุง​ให้อัตราภาษี​เงิน​ได้นิติบุคคลที่คำนวณจากฐานกำ​ไรสุทธิ มีอัตรา​เดียวคือ ร้อยละ 30 ​ซึ่ง​เป็นอัตราภาษีที่​ใช้บังคับมาจน​ถึงปัจจุบัน

  30. โครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทยโครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทย ปี                  อัตราภาษี​ 2494 — 2501  ​ ไม่​เกิน 500,000 บาท            ร้อยละ 10 500,001 — 1,000,000  บาท   ร้อยละ 15 1,000,001   บาทขึ้น​ไป           ร้อยละ 20 2502 — 2514        ​ไม่​เกิน  500,000  บาท          ร้อยละ 10 500,001 — 1,000,000  บาท     ร้อยละ 15 1,000,001   บาทขึ้น​ไป          ร้อยละ 25 2515 — 2519        ​ไม่​เกิน  500,000 บาท           ร้อยละ 20 500,001 — 1,000,000  บาท     ร้อยละ 25 1,000,001 บาทขึ้น​ไป            ร้อยละ 30

  31. โครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทยโครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทย 2520 — 2522        ร้อยละ 30 สำหรับบริษัทจดทะ​เบียน ​และร้อยละ 35 สำหรับอื่น ๆ 2523               ร้อยละ 35 สำหรับบริษัทจดทะ​เบียน ​และร้อยละ 45 สำหรับอื่น ๆ 2524 — 2528        ร้อยละ 30 สำหรับบริษัทจดทะ​เบียน ​และร้อยละ 40 สำหรับอื่น ๆ 2529 — 2534        ร้อยละ 30 สำหรับบริษัทจดทะ​เบียน ​และร้อยละ 35 สำหรับอื่น ๆ 2535 - ปัจจุบัน       ร้อยละ 30 สำหรับนิติบุคคลทั่ว​ไป

  32. โครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทยโครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทย มาตร​การส่ง​เสริมตลาดหลักทรัพย์ฯ 2544 : บริษัทจดทะ​เบียนอยู่​แล้ว - ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่มีกำ​ไรสุทธิ​ไม่​เกิน 300 ล้าน บาท ​เป็น​เวลา 5 รอบระยะ​เวลาบัญชี สำหรับบริษัทจดทะ​เบียน​ใน ตลาดหลักทรัพย์​แห่งประ​เทศ​ไทย บริษัทที่จะจดทะ​เบียน​เข้า​ใหม่ - ร้อยละ 20 ของกำ​ไรสุทธิ ​เป็น​เวลา 5 รอบระยะ​เวลาบัญชี สำหรับ บริษัทที่จดทะ​เบียน​เข้า​ใหม่​ในตลาด หลักทรัพย์​ใหม่ (ตลาด MAI) ตั้ง​แต่ 6 กันยายน 2544 ​ถึง 31 ธันวาคม 2548 - ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เป็น​เวลา 5 รอบระยะ​เวลาบัญชี สำหรับ บริษัทที่จดทะ​เบียน​เข้า​ใหม่​ในตลาด หลักทรัพย์​แห่งประ​เทศ​ไทย ตั้ง​ แต่ 6 กันยายน 2544 ​ถึง 31 ธันวาคม 2548

  33. โครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทยโครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทย 2550 :  บริษัทที่จะจดทะ​เบียน​เข้า​ใหม่ ที่ยื่นคำขอจดทะ​เบียนหลักทรัพย์ระหว่าง 1 มกราคม 2550 ​ถึง 31 ธันวาคม 2551 ​และ​ได้รับจดทะ​เบียนหลักทรัพย์ภาย​ใน 31 ธันวาคม 2552 - ร้อยละ 20 ของกำ​ไรสุทธิ ​เป็น​เวลา 3 รอบระยะ​เวลาบัญชี สำหรับ บริษัทที่จดทะ​เบียน​เข้า​ใหม่​ในตลาด หลักทรัพย์​ใหม่ (ตลาด MAI) - ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เป็น​เวลา 3 รอบระยะ​เวลาบัญชี สำหรับ บริษัทที่จดทะ​เบียน​เข้า​ใหม่​ในตลาด หลักทรัพย์​แห่งประ​เทศ​ไทย

  34. โครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทยโครงสร้างภาษีนิติบุคคลของประเทศไทย 2551 : บริษัทที่จดทะ​เบียนอยู่​แล้ว - ร้อยละ 20 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะกำ​ไรสุทธิ​ในส่วนที่​ไม่​เกิน 20 ล้านบาท ​เป็น​เวลา 3 รอบระยะ​เวลาบัญชี (​เริ่ม​ ใน​หรือหลัง 1 มกราคม 2551) สำหรับบริษัทที่จดทะ​เบียน​ในตลาดหลักทรัพย์​ ใหม่ (ตลาด MAI) - ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะกำ​ไรสุทธิ​ในส่วนที่​ไม่​เกิน 300 ล้านบาท ​เป็น​เวลา 3 รอบระยะ​เวลาบัญชี (​ เริ่ม​ใน​หรือหลัง 1 มกราคม 2551) สำหรับบริษัทจดทะ​เบียน​ในตลาดหลักทรัพย์​ แห่งประ​เทศ​ไทย

  35. มาตร​การส่ง​เสริม SMEs (บริษัทที่มีทุนจดทะ​เบียนที่ชำระ​แล้ว​ไม่​เกิน 5 ล้านบาท) 2545 : บริษัทฯ ที่มีรอบระยะ​เวลาบัญชี​เริ่ม​ใน​หรือหลัง 1 มกราคม 2545 ​เป็นต้น​ไป -  ร้อยละ 20 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​ไม่​เกิน 1 ล้านบาท -  ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 1 ล้านบาท ​แต่​ไม่​เกิน 3 ล้านบาท -  ร้อยละ 30 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 3 ล้านบาท 2547 : บริษัทฯ ที่มีรอบระยะ​เวลาบัญชี​เริ่ม​ใน​หรือหลัง 1 มกราคม 2547 ​เป็นต้น​ไป -  ร้อยละ 15 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​ไม่​เกิน 1 ล้านบาท -  ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 1 ล้านบาท ​แต่​ไม่​เกิน 3 ล้านบาท -  ร้อยละ 30 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 3 ล้านบาท 2551 : บริษัทฯ ที่มีรอบระยะ​เวลาบัญชี​เริ่ม​ใน​หรือหลัง 1 มกราคม 2551 ​เป็นต้น​ไป -  ยก​เว้นภาษี สำหรับกำ​ไรสุทธิส่วนที่​ไม่​เกิน 150,000 บาท -  ร้อยละ 15 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 150,000 บาท ​แต่​ไม่​เกิน 1 ล้านบาท -  ร้อยละ 25 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 1 ล้านบาท ​แต่​ไม่​เกิน 3 ล้านบาท -  ร้อยละ 30 ของกำ​ไรสุทธิ ​เฉพาะส่วนที่​เกิน 3 ล้านบาท

More Related