1 / 153

การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศักราช 2551 สู่ ห้องเรียน สพท. อด. 3

การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศักราช 2551 สู่ ห้องเรียน สพท. อด. 3. สิ่งที่ควรเรียนรู้และชิ้นงานที่คาดว่าจะได้จากการปฏิบัติกิจกรรม. สิ่งที่ควรเรียนรู้ ทำความเข้าใจกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

meadow
Download Presentation

การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศักราช 2551 สู่ ห้องเรียน สพท. อด. 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สู่ห้องเรียน สพท.อด. 3

  2. สิ่งที่ควรเรียนรู้และชิ้นงานที่คาดว่าจะได้จากการปฏิบัติกิจกรรม สิ่งที่ควรเรียนรู้ • ทำความเข้าใจกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 • ทำความเข้าใจกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด บอกอะไร และจะนำไปสู่การพัฒนานักเรียนได้อย่างไร ผลที่คาดว่าจะได้ * เอกสารหลักสูตรระดับชั้นเรียนทุกระดับชั้น และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ * ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้

  3. หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๐๓

  4. แมวเหมียวแยกเขี้ยวยิงฟัน.ผู้แต่ง: นายทัด เปรียญ แมวเอ๋ยแมวเหมียวรูปร่างประเปรียวเป็นนักหนาร้องเรียกเหมียวเหมียวเดี๋ยวก็มาเคล้าแข้งเคล้าขาน่าเอ็นดู รู้จักเอารักเข้าต่อตั้ง ค่ำค่ำซ้ำนั่งระวังหนูควรนับว่ามันกตัญญูพอดูอย่างไว้ใส่ใจเอย ฯ

  5. ๏ ๏ เด็กน้อย ๏ ๏(ร้องลำฝรั่งรำเท้า)เด็กเอ๋ย เด็กน้อยความรู้ เรายังด้อย เร่งศึกษาเมื่อเติบใหญ่ เราจะได้ มีวิชาเป็นเครื่องหา เลี้ยงชีพ สำหรับตนได้ประโยชน์ หลายสถาน เพราะการเรียนจงพากเพียร ไปเถิด จะเกิดผลถึงลำบาก ตรากตรำ ก็จำทนเกิดเป็นคน ควรหมั่น ขยันเอย.....

  6. บทอาขยานชั้นประถมศึกษาปีที่ 3๏ ๏ สัตว์สวยป่างาม ๏ ๏จาก - มูลบทบรรพกิจ -ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย)เห็นกวางย่างเยื้องชำเลืองเดิน.......เหมือนอย่างนางเชิญ   พระแสงสำอางข้างเคียงเขาสูงฝูงหงส์ลงเรียง...........เริงร้องซ้องเสียง   สำเนียงน่าฟังวังเวงกลางไพรไก่ขันบรรเลง............ฟังเสียงเพียงเพลง  ซอเจ้งจำเรียงเวียงวังยูงทองร้องกระโต้งโห่งดัง.......เพียงฆ้องกลองระฆัง    แตรสังข์กังสดารขานเสียงกะลิงกะลางนางนวลนอนเรียง........พญาลอคลอเคียง      แอ่นเอี้ยงอีโก้งโทงเทงค้อนทองเสียงร้องป๋องเป๋ง...........เพลินฟังวังเวง               อีเก้งเริงร้องลองเชิงฝูงละมั่งฝังดินกินเพลิง..........ค่างแข็งแรงเริง               ยืนเบิ่งบึ้งหน้าตาโพลงป่าสูงยูงยางช้างโขลง...........อึงคะนึงผึงโผง               โยงกันเล่นน้ำคล่ำไป..

  7. บทอาขยานชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4๏ ๏ สยามานุสติ ๏ ๏พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 ๏ ใครรานใครรุกด้าว...............แดนไทยไทยรบจนสุดใจ...........................ขาดดิ้นเสียเนื้อเลือดหลั่งไหล...................สละ สิ้นแลเสียชีพไป่เสียสิ้น..........................ชื่อก้อง เกียรติงาม    ๏ หากสยามยังอยู่ยั้ง................ยืนยงเราก็เหมือนอยู่คง........................ชีพด้วยหากสยามพินาศลง.......................ไทยอยู่ ได้ฤๅเราก็เหมือนมอดม้วย...................หมดสิ้น สกุลไทย

  8. บทอาขยาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5สักวาสักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอมกลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพยอมอาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลมแม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขมผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอารมณ์ ใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย..

  9. หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑

  10. หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ปรับปรุง ๒๕๓๓)

  11. หลักสูตรอิงมาตรฐาน STANDARD-BASED CURRICURUM

  12. มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

  13. standards ทำอะไรได้ “What student should know and be able to do.” (Marzano, 1998) รู้อะไร

  14. ความเชื่อมโยงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนความเชื่อมโยงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ร ระดับชั้นเรียน ระดับชาติ ร ระดับเขตพื้นที่ ร ระดับเสถานศึกษา • หลักสูตรสถานศึกษา • จุดเน้นคุณภาพผู้เรียน • สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น • แนวการประเมินคุณภาพผู้เรียน หลักสูตร แกนกลาง การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา ฯลฯ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ • มาตรฐานการเรียนรู้ • สาระการเรียนรู้แกนกลาง • - โครงสร้างหลักสูตร • - เกณฑ์การวัดผลประเมินผล แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้

  15. “จุดเน้นคุณภาพผู้เรียน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3 อ่านออกเขียนได้ ใฝ่คิดสร้างสรรค์ หมั่นคิดคำนวณ ชวนคิดวิเคราะห์ บ่มเพาะคุณธรรม เน้นย้ำกตัญญู รู้รับผิดชอบ อัตลักษณ์นักเรียน

  16. วิสัยทัศน์ คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5 กิจกรรม คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  17. เป้าหมายคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

  18. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป้าหมาย

  19. สาระ/มาตรฐาน และตัวชี้วัดชั้นปี (พื้นฐาน) ระดับประถมศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย มาตร ฐาน รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระ ม.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.4 - 6 5 ภาษาไทย 5 27 33 22 27 33 34 35 32 36 35 314 6 23 29 14 15 28 29 31 27 26 32 25 265 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 8 23 21 16 28 34 36 42 13 37 67 40 344 5 สังคมศึกษาฯ 34 38 32 39 37 39 45 11 44 63 49 420 5 สุข/พล 6 21 19 15 18 25 22 23 25 29 24 221 ศิลปะ 3 25 29 18 29 26 27 27 6 27 39 32 279 การงานฯ 4 10 10 5 8 13 13 9 4 14 29 12 123 4 8 ภาษาต่างประเทศ 16 20 16 18 20 20 20 21 21 21 193 รวม 40 139 67 179 195 199 217 228 226 238 316 2159 222

  20. ตัวอย่างสาระแกนกลาง

  21. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

  22. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน สพท.อด.3 กำหนด

  23. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐานการเรียนรู้ ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด สพท.อด.3 กำหนด

  24. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ สาระที่ ๑ การอ่าน

  25. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่าง มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ

  26. ๑.สำรวจรวบรวมความคิดเห็นในการเลือกซื้อสินค้าและบริการในชุมชน๑.สำรวจรวบรวมความคิดเห็นในการเลือกซื้อสินค้าและบริการในชุมชน ๒.นำเสนอผลการสำรวจความคิดเห็น ๓.ระบุข้อคิดเห็นถึงปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ ๔.ร่วมกันอภิปราย ๕.เขียนรายงานปัจจัยการเลือกซื้อสินค้าและบริการและนำเสนอ ๑.ระบุปัจจัย ที่มีผลต่อการ เลือกซื้อสินค้า และบริการ ผู้เรียนรู้อะไร สินค้าและบริการ มีปัจจัยหลายด้าน ในการตัดสินใจ เลือกซื้อ รายงาน เกี่ยวกับปัจจัย การเลือกซื้อ สินค้าและ บริการ ๑. ทักษะ การตัด สินใจ ๒.ทักษะ การระบุ ผู้เรียนทำอะไรได้ ระบุปัจจัยที่มีผลต่อ การเลือกซื้อสินค้า และบริการ

  27. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

  28. ๑.ทักษะการ ตีความ ๒.ทักษะการ ประเมินค่า ๓.ทักษะการ ประยุกต์ใช้ ความรู้ ผลงาน การตีความ และ ประเมินค่า หนังสือ พร้อมทั้ง แนวทางการ นำข้อคิดจาก เรื่องที่อ่าน ไปใช้แก้ ปัญหาในชีวิต ๑.อ่านหนังสือตาม ตามความสนใจ ๒.แปลความหมาย ของข้อความที่อ่าน และตีความเชื่อมโยง ความหมายเรื่อง ที่อ่าน เขียนสรุป เรื่องราวจากการอ่าน ๓.ระบุข้อคิดที่ได้ จากเรื่อง ผู้เรียนรู้อะไร การอ่านตีความและการประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย ทั้งด้านการใช้ภาษา วิธีการเขียน และข้อคิดในการดำรงชีวิต ๙.ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหา ในชีวิต ผู้เรียนทำอะไรได้ ตีความและประเมินคุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน นำไปประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในชีวิต

  29. ๔.กำหนดเกณฑ์ คุณภาพของงาน เขียน ๕.ประเมินงานเขียน ข้อคิดที่ได้จาก เรื่องกับระดับ คุณภาพ ๖.นำเสนอแนวทาง การนำข้อคิดที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ หรือแก้ปัญหา ๑.ทักษะการ แปลความ ๒.ทักษะการ ตีความ 3.ทักษะการ ประเมินค่า 4.ทักษะการ ประยุกต์ใช้ ความรู้ ผลงาน การตีความ และประเมิน ค่าหนังสือ อ่านนอกเวลา พร้อมทั้ง แนวทางการ นำข้อคิดจาก เรื่องที่อ่าน ไปใช้แก้ ปัญหาในชีวิต ผู้เรียนรู้อะไร การอ่านตีความและการประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย ทั้งด้านการใช้ภาษา วิธีการเขียนและข้อคิดในการดำรงชีวิต ๙.ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหา ในชีวิต ผู้เรียนทำอะไรได้ ตีความและประเมินคุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน นำไปประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในชีวิต

  30. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ สาระที่ ๖ กระบวนการปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์

  31. ๑.อธิบายจำแนก ประเภทของหิน โดยใช้ลักษณะ ของหิน สมบัติ ของหินเป็นเกณฑ์ และนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ นักเรียนรู้อะไร ๑.ตั้งคำถามเพื่อกำหนด ประเด็นการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของหิน ๑.รวบรวมข้อมูลจำแนกประเภทของหิน อธิบาย การใช้ประโยชน์ของหินแต่ละชนิด ๑.ทักษะการสำรวจ ๑.หินแต่ละชนิดมีลักษณะ แตกต่างกันตามลักษณะที่ สังเกตได้ ` ๒.ทักษะการวิเคราะห์ ๒.วางแผนในการสำรวจ ประเภทของหินโดยใช้ลักษณะและสมบัติของหินเป็นเกณฑ์ ๒.ลักษณะและสมบัติของหินที่แตกต่างกันทำให้มีประโยชน์และเหมาะสมกับลักษณะงานที่ต่างกัน ` ๓.ทักษะการจำแนก สาระที่ ๘ มาตรฐาน ว ๘.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑.๘ ๔.ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ๓.สำรวจประเภทของหิน ตามแผนที่วางไว้และทดลองตรวจสอบสมบัติของหิน นักเรียนทำอะไรได้ สำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ จำแนกประเภทและบอกประโยชน์การใช้หินแต่ละชนิด

  32. ๑.อธิบายจำแนก ประเภทของหิน โดยใช้ลักษณะ ของหิน สมบัติ ของหินเป็นเกณฑ์ และนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ นักเรียนรู้อะไร ๔. สังเกต บันทึกข้อมูล และวิเคราะห์เพื่ออธิบาย จำแนกประเภทของหินตาม ลักษณะประเภทของหิน พร้อมทั้งบอกประโยชน์ของการนำหินไปใช้ ๒.จัดทำสมุด pop-up จำแนกประเภทของหิน ๑.ทักษะการสำรวจ ๑.หินแต่ละชนิดมีลักษณะ แตกต่างกันตามลักษณะที่ สังเกตได้ ` ๒.ทักษะการวิเคราะห์ ๒.ลักษณะและสมบัติของหินที่แตกต่างกันทำให้มีประโยชน์และเหมาะสมกับลักษณะงานที่ต่างกัน ` ๓.ทักษะการจำแนก ๕. สรุปผลที่ได้จากการสำรวจจัดทำเป็นสมุด Pop-up อธิบายจำแนกประเภทของหินและประโยชน์ของหิน สาระที่ ๘ มาตรฐาน ว ๘.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑.๘ ๔.ทักษะการนำความรู้ไปใช้ นักเรียนทำอะไรได้ สำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ จำแนกประเภทและบอกประโยชน์การใช้หินแต่ละชนิด

  33. ทักษะการคิดพื้นฐาน ทักษะการคิด ในการสื่อสาร ทักษะการคิดที่เป็นแกน ๑.ทักษะการฟัง ๒.ทักษะการพูด ๓.ทักษะการอ่าน ๔.ทักษะการเขียน

  34. ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะการคิดซับซ้อน

  35. ทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะพัฒนาทักษะการคิด ทักษะกระบวนการคิด

  36. การพัฒนาทักษะการคิด ทักษะการคิด ขั้นสูง คิดแก้ปัญหา คิดตัดสินใจ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ฯลฯ ม.๔-๖ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้ความรู้ สร้างความรู้ ฯลฯ ม.๑-๓ ตีความ แปลความ สรุปย่อ เชื่อมโยง ให้เหตุผล ฯลฯ ป.๔-๖ สื่อสาร สังเกต สำรวจ ค้นหา เปรียบเทียบ คัดแยก ฯลฯ ทักษะการคิด พื้นฐาน ป.๑-๓

  37. ๑๑ กระบวนการเรียนรู้ ที่จำเป็นสำหรับเด็กและครูต้องพัฒนา ๑ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ ๒ กระบวนการสร้างความรู้ ๓ กระบวนการคิด ๔ กระบวนการทางสังคม ๕ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ๖ กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ๗ กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง ๘ กระบวนการจัดการ ๙ กระบวนการวิจัย ๑๐ กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง ๑๑ กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย

  38. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2กิจกรรมนักเรียน *ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด *ชุมนุม/ชมรม 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์. สุชาติ วงศ์สุวรรณ ที่ปรึกษา สพฐ.

More Related