1 / 32

ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ

ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ. บทบาทของกระทรวงการคลัง ในการพัฒนาประเทศ. โดย ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. Outline. เป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจ ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังในการพัฒนาประเทศ. เป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจ.

Download Presentation

ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ

  2. บทบาทของกระทรวงการคลังบทบาทของกระทรวงการคลัง ในการพัฒนาประเทศ โดย ดร. เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

  3. Outline • เป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจ • ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต • ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังในการพัฒนาประเทศ

  4. เป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจเป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจ • การรักษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • (Economic Growth) • การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • (Economic Stability) • การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • (Efficient Resource Allocation) • การกระจายรายได้และทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม • (Equitable Income Distribution)

  5. Outline • เป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจ • ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย • ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังในการพัฒนาประเทศ

  6. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เศรษฐกิจไทยในปี 2555 ขยายตัวได้ในระดับสูง เร่งขึ้นจากฐานต่ำในปีก่อน แต่มีความผันผวนสูงมาก Real Gross Domestic Product (%) 2554= 0.1 % 2552= -2.3 % 2555=6.4% 2553= 7.8 %

  7. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย โครงสร้างเศรษฐกิจไทย ด้านอุปสงค์ (Demand Side) ข้อมูลปี 2555

  8. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย ด้านการใช้จ่าย ด้านการผลิต

  9. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย เสถียรภาพภายในและภายนอกประเทศ ยังคงอยู่ในระดับแข็งแกร่ง Internal Stability External stability Headline CPI 2008=5.5 Headline CPI 2010=3.3 Headline CPI 2011=3.8 Headline CPI 2012=3.0 Core CPI 2008=2.3 Core CPI 2009=0.3 Core CPI 2010=0.9 Core CPI 2011=2.4 Core CPI 2012=2.1 Source: Bank of Thailand, Ministry of Commerce, National Statistical Office

  10. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย ภาพการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย • ขีดความสามารถทางการแข่งขันลดลง • (IMD) ในปี 2555 ลดลงมาอยู่ที่อันดับ 30 จาก 59 ประเทศ • (WEF) ในปี 2555 อยู่อันดับ 38 จาก 144 ประเทศ ที่มา : IMD WORLD COMPETITIVENESSYEARBOOK, WEF THE Global CompetitivenessReport ที่มา : WEF THE Global CompetitivenessReport 2012-2013

  11. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย การลงทุนของภาครัฐในระดับต่ำต่อเนื่อง ส่งผลลบต่อคุณภาพโครงสร้างพื้นฐาน หนึ่งในประเด็นสำคัญคือประเทศไทยมีการลงทุนในระดับต่ำเป็นระยะเวลานาน นับตั้งแต่วิกฤตต้มยำกุ้ง สัดส่วนการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชนลดลงต่อเนื่อง กอปรกับงบประมาณรายจ่ายด้านการลงทุนอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ที่ร้อยละ 25 เป็นเวลากว่า 6 ปี ติดต่อกัน ที่มา: สศช. และสำนักงบประมาณ กระทรวงการคลัง 11

  12. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย ต้นทุนค่าขนส่ง (Logistic Cost) ในประเทศไทยสูงถึง 15% ของ GDP โดยเฉพาะปัญหาในการขนส่งทางราง ที่มา: Global Competitiveness Report, World Economic Forum กระทรวงการคลัง 12

  13. แรงงานไทยส่วนใหญ่ยังคงมีระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษาและต่ำกว่ามากกว่าร้อยละ 50 ของกำลังแรงงาน 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย โครงสร้างสังคมไทยด้านการศึกษา ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ประมวลผลโดย สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สศช.

  14. 2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต ปัญหาความเหลื่อมล้ำและการกระจายรายได้ คนรวยที่สุด 20% แรกมีรายได้ว่า 54.2%

  15. 2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต ปัญหาความเหลื่อมล้ำและการกระจายรายได้ ตาราง สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (GINI Coefficient) ปัญหาความเหลื่อมล้ำ

  16. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย ความเหลื่อมล้ำอันเนื่องมาจากโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การถือครองที่ดินมากกว่า 1 ไร่ กระจุกตัวในกลุ่มคน 10 % ของผู้ถือครองที่ดินทั้งหมด

  17. 2. ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย การกระจุกตัวของความมั่งคั่ง: กรณีเงินฝาก จำนวนบัญชีเงินฝากวงเงินเกิน 1 ล้านบาท มีประมาณร้อยละ 1.2 ของบัญชีเงินฝากทั้งหมด แต่มีสัดส่วนเงินฝากมากถึงร้อยละ 71 ของเงินฝากรวม สัดส่วนบัญชีเงินฝากธนาคารพาณิชย์ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2553

  18. 2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทย การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตาราง ประมาณการประชากรโลก • ในอีก 10 ปีข้างหน้า หรือในปี 2563 ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) และอีก 10 ปีจะกลายเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  19. 2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) โลกร้อน (Global warming) • ข้อมูลของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change - IPCC) พบว่า หากอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น 1.4 – 5.8 องศาจะทำให้น้ำแข็งละลาย ส่งผลทำให้น้ำทะเลสูงขึ้น 14 – 90 ซม.

  20. 2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) โลกร้อน (Global warming)

  21. 2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต2.ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต • วิกฤตพลังงาน • การขาดแคลนแหล่งพลังงานในอนาคต • ที่มา : Businessinsider

  22. Outline • เป้าหมายนโยบายเศรษฐกิจ • ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในอนาคต • ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังในการพัฒนาประเทศ

  23. 3. ยุทธศาสตร์ของประเทศสู่ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy) หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง การสร้างความสามารถในการแข่งขัน(Growth & Competitiveness) ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กฎระเบียบ การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth)

  24. 3. ยุทธศาสตร์ของประเทศสู่ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง (MOF Strategy) เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ สนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน 1. การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า (Value Creation) 1. เสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง รักษาความยั่งยืน ทางการคลัง ลดความเหลื่อมล้ำ ทางเศรษฐกิจและสังคม 1. เพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก 2. ส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนินงานของภาครัฐ (Anti-Corruption) 2. สร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ (Social Safety Net) 2. เชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง 3. กระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

  25. 3. ยุทธศาสตร์ของประเทศสู่ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย 1.1 พัฒนาทุนมนุษย์ 1.2 เสริมสร้างศักยภาพทางการเงิน 1.3 ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1. เพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่คนฐานราก ลดความเหลื่อมล้ำ ทางเศรษฐกิจและสังคม 2.1 ขยายความคุ้มครองสวัสดิการสังคมให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม 2.2 ปรับปรุงสิทธิประโยชน์และการบริหารจัดการสวัสดิการของภาครัฐ 2.3 ลดรายจ่ายของผู้มีรายได้น้อย 2. สร้างระบบสวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ (Social Safety Net) 3. กระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม 3.1 ปฏิรูปกลไกการกระจายรายได้และทรัพย์สิน

  26. 3. ยุทธศาสตร์ของประเทศสู่ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เป้าหมาย 1. สนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจ การพัฒนาภาคเอกชนให้เกิดการสร้างมูลค่า (Value Creation) 1.1 เพิ่มขีดความสามารถธุรกิจ SMEs และ Microenterprises 1.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมของภาคเอกชน 1.3 ส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว สนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถการแข่งขัน 2.1 สนับสนุนการพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน 2.2 ใช้มาตรการทางการเงินการคลังเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนของไทยในต่างประเทศ 2. เชื่อมโยงธุรกิจเพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก 3.1 ปรับปรุง/พัฒนากฎระเบียบเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจและการลงทุนของประเทศ 3.2 ผลักดันการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ 3.3 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเงิน 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

  27. 3. ยุทธศาสตร์ของประเทศสู่ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1 บริหารจัดการรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 บริหารจัดการรายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 บริหารจัดการทรัพย์สินของรัฐและรัฐวิสาหกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 บริหารจัดการหนี้สินและความเสี่ยงทางการคลัง 1. เสริมสร้างความมั่นคงทางการคลัง รักษาความยั่งยืน ทางการคลัง 2. ส่งเสริมความโปร่งใสในการดำเนิน งานของภาครัฐ (Anti-Corruption) 2.1 ขจัดโอกาสทุจริต 3.1 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูล 3.2 พัฒนาบุคลากร 3.3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง

  28. เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 23 แผนงาน (Strategic Projects) การเงินเพื่อประชาชน (Financial Inclusion) (สศค,SFI) การเพิ่มศักยภาพทุนมนุษย์ ระบบสวัสดิการพื้นฐานและรองรับสังคมผู้สูงอายุ (สศค,สคร, บก) ความมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ(สรรพากร) การปฏิรูปภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ(สศค, ธร, สรรพากร, สรรพสามิต) ทรัพย์สินภาครัฐเพื่อเพิ่มศักยภาพคนฐานล่าง การบูรณาการแผนปฏิรูป SMEs (สศค., SFI, สรรพากร, สคร.) การเพิ่ม R&D และนวัตกรรม(สศค, สรรพากร, สคร, บก) การปฏิรูปภาษีให้มีความทันสมัย(สรรพากร, สรรพสามิต, ศุลกากร, สศค) การปฏิรูปการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ(บก) การเชื่อมโยงธุรกิจสู่สากล(สศค, ศุลกากร, สคร) การบริหารรายได้(3 กรมภาษี, สคร, ธร) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน(สบน, สคร, สศค) การบริหารรายจ่าย(บก, สคร) แผนพัฒนาตลาดทุน(สศค, สบน, สรรพากร) การบริหารทรัพย์สินภาครัฐ(ธร, สคร) แผนพัฒนาธุรกิจประกันภัย(สศค, สบน) บริหารจัดการหนี้สินและความเสี่ยงทางการคลัง แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน(สศค, สคร, SFI, สรรพากร ) การส่งเสริมธรรมาภิบาล(บก) แผนแม่บท IT กระทรวงการคลัง(สป) การพัฒนาบุคลากร(สป, ทุกหน่วยงาน) การพัฒนาระบบบริหารจัดการ(ทุกหน่วยงาน)

  29. 10 โครงการ Flagship ของกระทรวงการคลัง

  30. 10 โครงการ Flagship ของกระทรวงการคลัง

  31. 10 โครงการ Flagship ของกระทรวงการคลัง

  32. ขอบคุณ

More Related