1 / 15

หลักเศรษฐศาสตร์

รหัส 3200 - 1001. หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน. หลักเศรษฐศาสตร์. ดร. สุริยะ เจียมประชานรากร วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร) วท.ม. (เศรษฐศาสตร์) ค.ม. (การวิจัยการศึกษา) ค.ด. (พัฒนาศึกษา). บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์.

masako
Download Presentation

หลักเศรษฐศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รหัส 3200 - 1001 หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์ ดร. สุริยะ เจียมประชานรากร วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร) วท.ม. (เศรษฐศาสตร์) ค.ม. (การวิจัยการศึกษา) ค.ด. (พัฒนาศึกษา)

  2. บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์

  3. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/เศรษฐศาสตร์คือความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/เศรษฐศาสตร์คือ หนังสือหน้า 3 เลขหน้า 1/3 1.1 เศรษฐศาสตร์คืออะไร “เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมเกี่ยวกับการเลือก (choices) ใช้ปัจจัยการผลิตอันที่มีอยู่อย่างขาดแคลน (scarcity) เพื่อผลิตสินค้าและบริการไปบำบัดความต้องการของมนุษย์อันมีอยู่อย่างไม่จำกัด”

  4. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/แขนงของวิชาเศรษฐศาตร์ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/แขนงของวิชาเศรษฐศาตร์ หนังสือหน้า 3 เลขหน้า 1/4 1.2 แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1.2.1 เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro - economics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยย่อย ๆ ในสังคม 1.2.2 เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro economics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของส่วนรวมหรือระดับประเทศ จำเป็นต้องศึกษาทั้งสองแขนงซึ่งต่างก็มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดและทั้งสองแขนงมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน

  5. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ความสัมพันธ์ระหว่างวิชา หนังสือหน้า 3 เลขหน้า 1/5 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาเศรษฐศาสตร์ กับวิชาอื่น เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาสาขาหนึ่งของสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จึงมีความสัมพันธ์กับวิชาสาขาอื่น ๆ 1.3.1 เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ ปัจจุบันรัฐบาลของทุก ประเทศพยายามที่จะให้มีความเจริญเติบโตและมีเสถียรภาพทั้ง เศรษฐกิจและการเมืองควบคู่กันไปเสมอ

  6. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ความสัมพันธ์ระหว่างวิชา หนังสือหน้า 4 เลขหน้า 1/6 1.3.2 เศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ กำไรจากการประกอบธุรกิจ สูงสุด นักธุรกิจจำเป็นต้องอาศัยความรู้ที่ได้จากวิชา เศรษฐศาสตร์ 1.3.3 เศรษฐศาสตร์กับจิตวิทยา นักเศรษฐศาสตร์สามารถนำ ความรู้นี้ไปใช้อธิบายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ได้

  7. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/วิธีการศึกษาความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/วิธีการศึกษา หนังสือหน้า 4 เลขหน้า 1/7 1.4 วิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1.4.1 เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (economic analysis) ศึกษาเพื่อให้รู้ถึง สิ่งที่เคยเป็นมาในอดีต (what was) สิ่งที่กำลังเป็นอยู่ (what is) และที่กำลังจะเป็น (what will be) เพื่อสร้างเป็นทฤษฎี(theory) โดยไม่คำนึงถึงว่าผลจะดีหรือเลวอย่างไร เป็นที่พึง ปรารถนาของสังคมหรือไม่ 1.4.2 เศรษฐศาสตร์นโยบาย (economic policy) ศึกษาถึงสิ่งที่ควร จะเป็น (what ought to be) การศึกษาแบบนี้จึงเกี่ยวข้องกับ การตัดสินคุณค่าอย่างมาก

  8. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ปัญหาเศรษฐกิจพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ปัญหาเศรษฐกิจพื้นฐาน หนังสือหน้า 4 เลขหน้า 1/8 1.5 ปัญหาเศรษฐกิจพื้นฐาน(basic economic problem) 1.5.1 ผลิตอะไร (what to produce) ต้องตัดสินใจเลือกผลิต สินค้าและบริการอะไรและจะผลิตสินค้าแต่ละชนิดเป็น จำนวนเท่าใด 1.5.2 ผลิตอย่างไร (how to produce) จะใช้เทคนิคและกรรมวิธี การผลิตอย่างไร 1.5.3ผลิตเพื่อใคร (for whom to produce) จะกระจายสินค้า และบริการที่ผลิตได้ไปให้ใคร วิธีไหน อย่างไร จึงจะ สนองตอบ ความต้องการของสมาชิกในสังคมได้ดีที่สุด

  9. 1.6 การแก้ปัญหาเศรษฐกิจพื้นฐานในระบบ เศรษฐกิจต่าง ๆ รูปแบบทางเศรษฐกิจ โดยกำหนดผู้กระทำกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ (economic activities) จัดตั้งสถาบันทาง เศรษฐกิจ (economic institution) กำหนดผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สิน รวมทั้งออกระเบียบข้อบังคับและวิธีการควบคุมการกระทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ให้เหมาะสมและเป็นผลดีต่อประชาชนในประเทศของตน ซึ่งเรียกว่า ระบบเศรษฐกิจ (economic system) ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหา หนังสือหน้า 5 เลขหน้า 1/9

  10. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหาความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหา หนังสือหน้า 5 เลขหน้า 1/10 ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือที่เรียกว่า ระบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม (Capitalism) ตัดสินปัญหาโดยใช้ระบบราคา (price system) ให้สิทธิแก่เอกชนเป็นเจ้าของทรัพย์สินอย่างเต็มที่ และประชาชนมีเสรีภาพอย่างเต็มที่ในการตัดสินใจกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหวัง คือ ผลตอบแทนมากที่สุดสำหรับผู้ผลิต และความพอใจสูงสุดสำหรับผู้บริโภค ระบบสังคมนิยม (Socialism) ตัดสินปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจโดยรัฐ เพราะถือว่าปัจจัยการผลิตทุกชนิดเป็นของรัฐ รัฐจะเป็นผู้กำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจแล้วบังคับให้ประชาชนปฏิบัติตาม

  11. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหาความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหา หนังสือหน้า 5 เลขหน้า 1/11 เป็นการยากที่จะบอกว่าระบบเศรษฐกิจแบบใดดีกว่ากัน เนื่องจากแต่ละระบบต่างก็มีข้อดีและข้อเสีย ระบบเศรษฐกิจหนึ่งอาจใช้ได้ดีหรือเหมาะสมกับอีกประเทศหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในประเทศนั้น การพิจารณาว่าระบบเศรษฐกิจแบบใดดีกว่ากันนั้น อาจพิจารณาได้จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (economic growth) เสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ความยุติธรรมในสังคม ซึ่งระบบเศรษฐกิจแต่ละระบบจะสามารถบรรลุถึงวัตถุประสงค์ ได้มากน้อยเพียงใด

  12. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหาความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/การแก้ปัญหา หนังสือหน้า 5 เลขหน้า 1/12 ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีมักจะบรรลุวัตถุประสงค์สองประการแรกแต่มักจะทำให้เกิดปัญหาเรื่องความยุติธรรมในสังคม มีบางคนเรียกระบบนี้ว่า “มือใครยาว สาวได้สาวเอา” ส่วนประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมก็มักจะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์สองประการแรกได้ช้า แต่ก็ทำให้เกิดความยุติธรรมในสังคม

  13. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/วงจรกิจกรรมความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/วงจรกิจกรรม หนังสือหน้า 6 เลขหน้า 1/13 1.7 วงจรกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (circular flow of economy) องค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจจึงแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ครัวเรือน (households) ธุรกิจ (business firm) และรัฐบาล (government) เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของทั้ง 3 ส่วนได้

  14. วงจรกิจกรรมทางเศรษฐกิจวงจรกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตลาดสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าและบริการ ขายสินค้าและบริการ จ่ายเงินค่าซื้อสินค้าและบริการ รายรับจากการขาย ผลผลิต รายจ่าย สินค้าและบริการ สินค้าและบริการ (ผู้บริโภค) ครัวเรือน (เจ้าของปัจจัยการผลิต) ธุรกิจ (ผู้ผลิต) รัฐบาล ภาษี ภาษี ปัจจัยการผลิต รายจ่าย ค่าใช้จ่ายในการซื้อปัจจัย รายได้จากการขายปัจจัย ขายปัจจัยการผลิต ซื้อปัจจัยการผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต

  15. ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ประโยชน์ความรู้เกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์/ประโยชน์ หนังสือหน้า 7 เลขหน้า 1/15 1.8 ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1.8.1 ช่วยให้การดำรงชีวิตประจำวันเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์และมีเหตุผล 1.8.2 เป็นความรู้ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบอาชีพธุรกิจ 1.8.3 หน่วยธุรกิจสามารถนำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจได้ดีขึ้น 1.8.4 ในด้านของส่วนรวม ถ้าประชาชนมีความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ก็จะสามารถประกอบอาชีพในอันที่จะก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าแก่ตนเองและส่วนรวม 1.8.5 เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์

More Related