1 / 19

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข. นพ.สุวิทย์ วิบุลย์ผลประเสริฐ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านควบคุมป้องกันโรค (นักวิชาการสาธารณสุข 11) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. บทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข. 1. กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ

marvin
Download Presentation

การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกระจายอำนาจด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขการกระจายอำนาจด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข นพ.สุวิทย์ วิบุลย์ผลประเสริฐ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านควบคุมป้องกันโรค (นักวิชาการสาธารณสุข 11) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  2. บทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุขบทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข 1. กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในทุกระดับ 2. พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านสุขภาพ 3. ติดตาม กำกับ ดูแลระบบสุขภาพในภาพรวม และสร้างกลไกการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  3. บทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข(ต่อ)บทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข(ต่อ) 4. ออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมาย และกำหนดมาตรฐานที่จำเป็นรวมทั้งกำกับ ดูแล และพัฒนาคุณภาพให้เป็นไป ตามมาตรฐาน 5. จัดให้มีบริการด้านสุขภาพ โดยกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐาน และพัฒนาบริการเฉพาะทาง 6. สร้างระบบการป้องกันและควบคุมโรค และภัยทางสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  4. บทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข(ต่อ)บทบาทภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข(ต่อ) 7. ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคมในการมีส่วนร่วมสร้างเสริม สุขภาพและพัฒนาศักยภาพของประชาชนทางด้านพฤติกรรม และสำนึกทางสุขภาพ 8. ประสานเพื่อกำหนดนโยบายทิศทางการวิจัย และการบริหารจัดการ ด้านสาธารณสุข 9. ดำเนินงานด้านสุขภาพระหว่างประเทศ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  5. แนวทางการกระจายอำนาจด้านสุขภาพแนวทางการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  6. 4 ลักษณะ 1 อปท.เป็นผู้เป็นผู้ซื้อบริการ 2 อปท.ดำเนินการร่วมกับส่วนกลาง/ภูมิภาค3 อปท.ดำเนินการเองบางส่วน 4 อปท.ดำเนินการทั้งหมด 2 ขอบเขตภารกิจที่จะถ่ายโอน 1 ลักษณะภารกิจได้แก่ รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู 2 ความกว้างขวางครอบคลุมของภารกิจอาจเป็นกิจกรรมที่บริการเฉพาะบุคคล/ครอบครัว/ชุมชน 4 รูปแบบ 1ถ่ายโอนแบบแยกส่วน 2 ถ่ายโอนเป็นเครือข่ายบริการ 3 องค์กรมหาชน 4 หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ SDU 3 หลักการ 1มุ่งประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 2 มุ่งระบบที่ยืดหยุ่นและมีพลวัตร 3 มุ่งระบบที่มีส่วนร่วม 4 เงื่อนไข 1บุคลากร 2 ระบบการเงิน 3 ระบบบริการสุขภาพ 4 ภาวะฉุกเฉิน วิกฤติ 2 กลไกและกระบวนการ 1 กลไก/กระบวนการตัดสินใจ 2 กลไก/กระบวนการสนับสนุน

  7. กลไก กระบวนการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่ อปท. พิจารณากำหนดแนวทางกลไก กระบวนการถ่ายโอน สอ. ให้แก่ อปท. เฉพาะในประเด็น : กลไกและกระบวนการ ตัดสินใจถ่ายโอนฯ การสนับสนุน การดำเนินการถ่ายโอนฯ คณะอนุกรรมการพัฒนาหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและระบบกลไกการประเมิน ความพร้อมในการถ่ายโอน สอ. ให้แก่ อปท. คณะกรรมการกำหนดกลไก กระบวนการหลักเกณฑ์และวิธีประเมินความพร้อม อปท. เพื่อรองรับการถ่ายโอนสอ. คณะอนุกรรมการพัฒนาหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและระบบกลไกการประเมิน ความพร้อมในการถ่ายโอน สอ. ให้แก่ อปท. 1.กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขสำคัญในการถ่ายโอน ฯ 2.กำหนดระบบ/กลไก การประเมินความพร้อม ของ อปท. ที่จะรับการถ่ายโอน สอ. 3.เสนอปรับปรุงกฎเกณฑ์ กฎหมายและระเบียบต่างๆ ศึกษาและพัฒนาระบบการประเมินผล และถอดบทเรียนจากการทดลองเรื่องการถ่ายโอน สอ. ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะอนุกรรมการศึกษาและพัฒนาระบบประเมินผล และถอดบทเรียนจากการทดลองถ่ายโอน สอ. ให้แก่ อปท.

  8. กลไกการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่ อปท. กระทรวงสาธารณสุข กำหนดกลไก กระบวนการ หลักเกณฑ์ และวิธีประเมินความพร้อม อปท. เพื่อรองรับการถ่ายโอน แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนด กลไก กระบวนการ หลักเกณฑ์และวิธีประเมินความพร้อม อปท. เพื่อรองรับการถ่ายโอน สอ. กำหนดแผนและแนวทาง การส่งเสริมความพร้อมของ อปท. กำหนดแผนและเป้าหมาย การถ่ายโอน สอ. ให้แก่ อปท. คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ เพื่อบริหารการถ่ายโอน สอ. ให้แก่ อปท. เสนอที่ประชุม กกถ. เพื่อขออนุมัติฯ ให้ความเห็นชอบ

  9. 1. กำหนดนโยบาย / แนวทางการบริหารงานการถ่ายโอนสอ.ให้แก่ อปท. 2. ประเมินความพร้อมของ อปท.และประเมินผลหลังการถ่ายโอน 3. เห็นชอบให้ถ่ายโอน สอ. ให้ อปท. แต่ละแห่งที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 4. กำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล ให้ส่วนกลางและระดับชาติ 5. ให้ความเห็นในการบริหารงานบุคลากรสาธารณสุขในท้องถิ่น 6. กำหนดมาตรฐานการดำเนินงาน/การบริการของสถานบริการ 7. กำหนดภารกิจงานสาธารณสุขใน อปท. 8. ให้ความเห็นชอบแผนงานด้านสาธารณสุขของ อปท. ในส่วนงบอุดหนุน 9. ช่วยเหลือ สนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะของ อปท. 10. ภารกิจอื่น ๆ ตามที่ สกถ. มอบหมาย 11. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อปฏิบัติภารกิจที่มอบหมาย คณะอนุกรรมการส่งเสริมการถ่ายโอนภารกิจสาธารณสุข ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด 18 คน แต่งตั้งโดยคณะกรรมการกระจายอำนาจฯ ตาม พ.ร.บ.ข้อ 13 และ แผนฯ ข้อ 6.5.3 คณะทำงานประเมินความพร้อมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และประเมินผลการดำเนินงานหลังถ่ายโอน 1.ประเมินความพร้อมของ อปท. และ สอ. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กำหนด 2. ประเมินผลสำเร็จตามแผนการกระจายอำนาจฯ และแผนปฏิบัติการฯ 3. ประเมินผลสำเร็จการดำเนินงานสาธารณสุขหลังการดำเนินการถ่ายโอน กลไก กระบวนการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่ อปท.(ระดับจังหวัด)

  10. ความก้าวหน้าการกระจายอำนาจด้านสุขภาพให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลความก้าวหน้าการกระจายอำนาจด้านสุขภาพให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบล

  11. มติ กกถ. จากการประชุมครั้งที่ 2/ 2550วันที่ 25 เมษายน 2550“ ให้มีการถ่ายโอนสถานีอนามัย 35 แห่ง ให้แก่ อบต. 30 แห่ง ใน 23 จังหวัดที่ผ่านหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของกระทรวงสาธารณสุข ”

  12. หลักการถ่ายโอนบุคลากรหลักการถ่ายโอนบุคลากร ยึดหลักการ “ สถานีอนามัยไป บุคลากรสมัครใจ อัตราตามตัวไป ”

  13. หลักการถ่ายโอนบุคลากรหลักการถ่ายโอนบุคลากร *สอดคล้องกับภารกิจที่ถ่ายโอนให้ อบต. ตามแผนปฏิบัติการฯ * กระบวนการถ่ายโอนต้องมีความยืดหยุ่น คล่องตัว ราบรื่นและจูงใจ * สิทธิประโยชน์/ก้าวหน้าของบุคลากรที่ถ่ายโอนไป อปท.

  14. หลักเกณฑ์การถ่ายโอนบุคลากรหลักเกณฑ์การถ่ายโอนบุคลากร กระทวงสาธารณสุข อปท. * อปท.ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความพร้อมของ สธ. * สอบถามความสมัครใจบุคลากร

  15. ข้าราชการไปปฏิบัติงานใน อบต. กรณีสมัครใจ ตัดโอนตำแหน่ง และอัตราเงินเดือน ตามตัวไป

  16. กรณีไม่สมัครใจไป * ไปปฏิบัติราชการที่สอ.อื่นหรือส่วนราชการข้างเคียงที่ประสงค์จะไป (อัตรากำลังต้องไม่เกินจำนวนโครงสร้างที่ ก.พ.กำหนด) * สับเปลี่ยนกับข้าราชการที่ประสงค์จะไปปฏิบัติราชการเป็นข้าราชการท้องถิ่นในจังหวัดนั้น

  17. ผลกระทบจากการกระจายอำนาจด้านสุขภาพผลกระทบจากการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขต้องปรับบทบาท ดังนี้ 1. กำหนดนโยบายด้านสุขภาพในภาวะปกติและฉุกเฉิน 2. เป็นองค์กรหลักด้านการแพทย์สาธารณสุข ดูแลนโยบายด้านสุขภาพของประเทศ 3. ประสาน/เชื่อมโยงงานด้านสาธารณสุขกับหน่วยงานภาครัฐและ ภาคประชาชน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  18. ผลกระทบจากการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ(ต่อ)ผลกระทบจากการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ(ต่อ) 4. สนับสนุนด้านวิชาการ/กำหนดมาตรฐานการบริการ/ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ 5. กำกับดูแลด้านวิชาการ/มาตรฐานการบริการ การดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ 6. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับการถ่ายโอน 7. ปรับปรุงระบบการส่งต่อผู้ป่วย (Referal system) เชื่อมโยงกับท้องถิ่น 8. ปรับระบบการเงินการคลัง สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

  19. สวัสดี

More Related