1 / 27

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

การใช้ก๊าซธรรมชาติในยานยนต์ ( NGV) โดย นายกฤษณะพันธุ์ พลายบัว. แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี. NGV คืออะไร NGV มาจากคำว่า Natural Gas for Vehicles NGV เป็นก๊าซธรรมชาติชนิดเดียวกันกับที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า NGV ทำให้เกิดมลพิษต่ำ

martina
Download Presentation

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ก๊าซธรรมชาติในยานยนต์ ( NGV) โดย นายกฤษณะพันธุ์ พลายบัว แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

  2. NGV คืออะไร • NGV มาจากคำว่า Natural Gas for Vehicles • NGV เป็นก๊าซธรรมชาติชนิดเดียวกันกับที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า • NGV ทำให้เกิดมลพิษต่ำ • ส่วนประกอบหลักของ NGV คือก๊าซมีเทน • ในต่างประเทศมีการใช้ NGV มาแล้วกว่า 50 ปี • ในปัจจุบันมีรถใช้ NGV กว่าล้านคันทั่วโลก

  3. เทคโนโลยีที่มีในปัจจุบันเทคโนโลยีที่มีในปัจจุบัน เครื่องยนต์ NGV • Dedicated Natural Gas Engine • Diesel Dual Fuel ( DDF ) Engine • Gasoline Bi–fuel Engine • สถานีเติมก๊าซธรรมชาติ NGV • เติมเร็ว ( 5 นาที ) • เติมช้า ( 2-8 ชั่วโมง )

  4. สถานีเติมก๊าซแบบเติมเร็วสถานีเติมก๊าซแบบเติมเร็ว • มีต้นทุนการก่อสร้างสูง • ไม่สามารถเติมก๊าซได้เต็มความจุของถังก๊าซ เนื่องจาก ทำให้เกิดอุณหภูมิสูงในขณะเติม • แต่สถานีทั่วไปจำเป็นต้องเป็นแบบเติมเร็ว • ระยะเวลาการเติมขึ้นอยู่กับความต้านทานการไหล ของระบบท่อในรถ

  5. สถานีเติมก๊าซแบบเติมช้า • เหมาะกับการเติมก๊าซแก่รถที่จอดพักอยู่กับที่ที่แน่นอนเป็นเวลานาน เช่น รถประจำทาง ขสมก. • สามารถเติมก๊าซได้เต็มความจุของถังเนื่องจากอุณหภูมิก๊าซไม่สูง • มีต้นทุนการก่อสร้างและการใช้งานต่ำ • ระยะเวลาในการเติมขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่องอัดก๊าซ ความจุของถังก๊าซในรถ และ ความต้านทานการไหลของระบบท่อ

  6. รูปแบบของสถานีเติมก๊าซแม่รูปแบบของสถานีเติมก๊าซแม่ 6 รถเทรเล่อร์ขน NGV ท่อก๊าซ 1 เครื่องอัดก๊าซ 2 ความจุ 4000 NCM (i)อัดด้วยความดัน 250 บาร์ (ii) ขีดความสามารถ 500 ลบม. / ชั่วโมง NGV ถังเก็บจ่ายก๊าซ 3 4 รถ NGV ตู้จ่ายก๊าซ 5

  7. รูปแบบของสถานีเติมก๊าซลูกรูปแบบของสถานีเติมก๊าซลูก <1500 psig PRS 3600 - เครื่องอัดก๊าซ 3 2 1500 psig 1 รถเทรเล่อร์ ขน NGV เครื่องลดความดันก๊าซ . NGV 5 ตู้จ่ายก๊าซ 4 6 รถ NGV ถังเก็บจ่ายก๊าซ

  8. สถานีเติมก๊าซแบบธรรมดาสถานีเติมก๊าซแบบธรรมดา NGV ถังเก็บจ่าย ก๊าซ ตู้จ่ายก๊าซ ท่อก๊าซ 3 รถ NGV 1 2 4 5 เครื่องอัดก๊าซ

  9. ถังบรรจุก๊าซในรถยนต์

  10. Dedicated Natural Gas Engine • เป็นเครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยหัวเทียน • อัตราส่วนอัด 10 -13 • Lean burn หรือ stochiometric • อัตราการใช้เชื้อเพลิงสูงกว่าเครื่องยนต์ดีเซล 25-40 % • มีเครื่องยนต์ประเภทนี้ผลิตจำหน่ายแล้ว • มีมลพิษจากไอเสียต่ำกว่าเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงอื่น

  11. เป็นเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดด้วยการอัด เป็นเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดด้วยการอัด • เครื่องยนต์ประเภทนี้ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักโดยมีน้ำมันดีเซล เป็นตัวเริ่มจุดระเบิด • มีการใช้งานมาแล้วกว่า 50 ปี • สามารถลดควันดำจากเครื่องยนต์เมื่อใช้น้ำมันดีเซลเกือบหมด • อัตราการใช้เชื้อเพลิงสูงกว่าเมื่อใช้น้ำมันดีเซลอย่างเดียว 5-15 % • มีข้อเสีย คือ เกิดไฮโดรคาร์บอนสูง • มีผลกระทบสูงจากคุณภาพก๊าซธรรมชาติ Diesel Dual Fuel Engine

  12. Gasoline Bi-fuel Engine • เป็นเครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยหัวเทียน • ปรับเปลี่ยนจากเครื่องยนต์ที่ใช้เบนซิน • ไม่สามารถจูนให้ดีที่สุดสำหรับ NGV ได้ • มีผลดีในเชิงเศรษฐศาสตร์เนื่องจาก NGV มีราคาถูก • เมื่อใช้ NGV เครื่องยนต์จะมีกำลังต่ำลงกว่าเมื่อใช้น้ำมันเบนซิน ประมาณ 20% • อัตราการใช้เชื้อเพลิงเทียบได้กับเมื่อใช้น้ำมันเบนซินอย่างเดียว

  13. ชุดอุปกรณ์ก๊าซ NGV

  14. European emission standards for HD vehicles (g/kwh)

  15. Enhanced Environmentally Friendly Vehicles (EEV) (g/kWh)

  16. Comparison of gas engine characteristics

  17. สิ่งที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการใช้ NGV • ประสิทธิภาพ • อัตราส่วนอัด • การน็อค

  18. ความเกี่ยวพันระหว่างประสิทธภาพกับอัตราส่วนอัดความเกี่ยวพันระหว่างประสิทธภาพกับอัตราส่วนอัด ตามทฤษฎี ประสิทธิภาพ = 1 – 1/(อัตราส่วนอัด)K-1 K = 1.4

  19. สาเหตุของการน็อค • การชิงจุดระเบิด • การจุดระเบิดซ้อน

  20. ตัวแปรในการเกิดการน็อคตัวแปรในการเกิดการน็อค • ความต้านทานการน็อคของเชื้อเพลิง • - Octane number ( 130 สำหรับ NGV) • - Methane number ( ~ 90 สำหรับ NGV ) • Mean Effective Pressure (MEP)

  21. การปรับเปลี่ยนเครื่องยนต์NGVการปรับเปลี่ยนเครื่องยนต์NGV • ปรับสภาพเครื่องยนต์ให้เหมาะกับการใช้กับ NGV • มีระบบควบคุมอัตราส่วนผสมอากาศกับเชื้อเพลิง • ติดตั้งระบบจ่าย NGV • ติดตั้งเครื่องลดความดันก๊าซ • ติดตั้งถังบรรจุก๊าซ • มีท่อนำก๊าซความดันสูงและความดันต่ำสู่เครื่องยนต์ • มีอุปกรณ์นิรภัยตามกฏกระทรวงฯ

  22. ตัวลดแรงดัน (หม้อต้ม) ตัวผสมก๊าซ กับอากาศ วาล์วควบคุมปริมาณก๊าซ วาล์วตัดก๊าซ ท่อร่วมไอดี ถังบรรจุก๊าซ การทำงานของระบบก๊าซธรรมชาติ(NGV)

  23. การบำรุงรักษา • ทำการตรวจการรั่วไหลของก๊าซอย่างสม่ำเสมอ • หมั่นตรวจตราสภาพของหัวเทียน • ทำการตรวจวัดมลพิษในไอเสีย และ ปรับเครื่องยนต์ • ติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับคุณภาพของก๊าซธรรมชาติ • หมั่นตรวจดูของเหลวที่ตกค้างในระบบก๊าซ • ทำการทดสอบถังบรรจุก๊าซทุก 5 ปี

  24. การเปรียบเทียบสมรรถนะการเปรียบเทียบสมรรถนะ • Mean effective pressure (Workdone per unit piston displacement) • Driveability - Starting torque - Peak power - Smoothness of operation - Noise

  25. การเปรียบเทียบเชิงเศรษฐศาสตร์กับเครื่องยนต์ดีเซลการเปรียบเทียบเชิงเศรษฐศาสตร์กับเครื่องยนต์ดีเซล

  26. ความคุ้มของการใช้ NGV • สามารถลดมลสารอนุภาคในไอเสียได้เป็นอย่างดี • Nox สามารถกำจัดได้โดยการใช้อุปกรณ์เพิ่มเติม • เครื่องยนต์ NGV จะมีมลพิษในไอเสียต่ำ ซึ่งเป็นไปตามข้อกำหนด ในอนาคตได้ในราคาต่ำกว่าเครื่องยนต์ดีเซล • เป็นเชื้อเพลิงที่มีในประเทศ จึงเป็นการประหยัดเงินตราต่างประเทศ • มีเทคโนโลยีที่ใช้ได้อยู่แล้วถึงแม้ว่าจะต้องมีการปรับแก้ให้เหมาะสมบ้าง • NGV เป็นเชื้อเพลิงที่มีความปลอดภัยสูง

  27. สรุป • NGV มีทั้งข้อดี และ ข้อเสีย • จงอย่าท้อถอยหากมีอุปสรรคในการใช้ NGV ทุกปัญหาแก้ไขได้ • เครื่องยนต์ที่ใช้ในประเทศไทยจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยน ให้เหมาะกับคุณภาพก๊าซของเรา • คุณภาพก๊าซเป็นตัวกำหนดรูปแบบของเครื่องยนต์

More Related