1 / 49

ฝ่ายวางแผนกำลังคน

กองการเจ้าหน้าที่. ฝ่ายวางแผนกำลังคน. สายการบังคับบัญชา. สำนักพัฒนาระบบบริหาร. อธิบดีกรมทางหลวง. สำนักงานตรวจสอบภายใน. รองอธิบดี ฝ่ายบริหาร. วิศวกรใหญ่ ด้านควบคุมการก่อสร้าง. วิศวกรใหญ่ ด้านบำรุงรักษา. รองอธิบดี ฝ่ายดำเนินการ. วิศวกรใหญ่ ด้านวิจัยและพัฒนา. วิศวกรใหญ่

Download Presentation

ฝ่ายวางแผนกำลังคน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายวางแผนกำลังคน

  2. สายการบังคับบัญชา สำนักพัฒนาระบบบริหาร อธิบดีกรมทางหลวง สำนักงานตรวจสอบภายใน รองอธิบดี ฝ่ายบริหาร วิศวกรใหญ่ ด้านควบคุมการก่อสร้าง วิศวกรใหญ่ ด้านบำรุงรักษา รองอธิบดี ฝ่ายดำเนินการ วิศวกรใหญ่ ด้านวิจัยและพัฒนา วิศวกรใหญ่ ด้านสำรวจและออกแบบ รองอธิบดี ฝ่ายวิชาการ วิศวกรใหญ่ ด้านอำนวยความปลอดภัย วิศวกรใหญ่ ด้านวางแผนและวางโครงการก่อสร้าง รองอธิบดี ฝ่ายบำรุงทาง

  3. โครงสร้างตามสายการบังคับบัญชาโครงสร้างตามสายการบังคับบัญชา 3

  4. อธิบดีกรมทางหลวง รองอธิบดี ฝ่ายวิชาการ รองอธิบดี ฝ่ายบริหาร กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สำนักงานเลขานุการกรม กองฝึกอบรม กองการเงินและบัญชี สำนักบริหารโครงการ ทางหลวงระหว่างประเทศ กองการเจ้าหน้าที่ สำนักกฎหมาย สำนักวิเคราะห์และตรวจสอบ สำนักงานแพทย์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานประชาสัมพันธ์

  5. อธิบดีกรมทางหลวง รองอธิบดี ฝ่ายบำรุงทาง รองอธิบดี ฝ่ายดำเนินงาน สำนักทางหลวงที่ 1-15 กองการพัสดุ สำนักบริหารบำรุงทาง สำนักก่อสร้างทางที่ 1-3 สำนักงานทางหลวง ตาก มหาสารคราม กระบี่ (สุราษฎร์ธานี) สำนักเครื่องกลและสื่อสาร สำนักจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน

  6. อธิบดีกรมทางหลวง วิศวกรใหญ่ ด้านควบคุมการก่อสร้าง วิศวกรใหญ่ ด้านบำรุงรักษา วิศวกรใหญ่ ด้านวิจัยและพัฒนา สำนักก่อสร้างสะพาน สำนักงานภูมิสถาปัตย์งานทาง สำนักวิจัยและพัฒนางานทาง สำนักงานบริหารงาน ศูนย์สร้างทาง สำนักมาตรฐานและประเมินผล สำนักงานควบคุมน้ำหนักยานพาหนะ ศูนย์สร้างทางลำปาง, หล่มสัก,ขอนแก่น, กาญจนบุรี,สงขลา กองบังคับการตำรวจทางหลวง วิศวกรใหญ่ ด้านสำรวจและออกแบบ วิศวกรใหญ่ ด้านอำนวยความปลอดภัย วิศวกรใหญ่ด้านวางแผนและวางโครงการก่อสร้าง สำนักอำนวยความปลอดภัย สำนักแผนงาน สำนักสำรวจและออกแบบ 6

  7. โครงสร้างกองการเจ้าหน้าที่โครงสร้างกองการเจ้าหน้าที่ กองการเจ้าหน้าที่ งานธุรการ ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ฝ่ายสวัสดิการและ เจ้าหน้าที่สัมพันธ์ ฝ่ายวางแผนกำลังคน กลุ่มพัฒนาระบบงาน ฝ่ายทะเบียนประวัติ และบำเหน็จความชอบ ฝ่ายวินัย ฝ่ายคุ้มครองจริยธรรม

  8. หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ กองการเจ้าหน้าที่ งานธุรการ ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง • รับผิดชอบงานสารบรรณ • งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ และ • สัญญาของกอง • จัดทำรายงานประจำปีของกอง • ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่ • เกี่ยวข้อง • ดำเนินการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ • ดำเนินการสอบคัดเลือก คัดเลือกบุคคลเพื่อ • เลื่อนระดับ • ดำเนินการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการ • ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ • จัดทำบัญชีถือจ่ายเงินเดือนและค่าจ้าง • จัดทำหลักเกณฑ์ แก้ไขและปรับปรุง • เกี่ยวกับการเลื่อนระดับข้าราชการ โดยวิธี • ประเมินบุคคลเข้าสู่ตำแหน่ง • ดำเนินการปรับอัตราเงินเดือนตามวุฒิและ • เงินประจำตำแหน่ง

  9. หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายวินัย ฝ่ายทะเบียนประวัติและบำเหน็จความชอบ • เสริมสร้างและพัฒนาข้าราชการ • และลูกจ้างให้รักษาวินัย • ดำเนินการทางวินัย ตลอดจนการ • สั่งลงโทษ • ดำเนินการเรื่องการพักราชการ • การให้ออกจากราชการ • ดำเนินการเรื่องการอุทธรณ์ • และการร้องทุกข์ • ดำเนินการเกี่ยวกับการประชุม • อ.ก.พ.กรม • จัดทำบันทึก เก็บรักษา และควบคุมทะเบียน • ประวัติ/บัตรประวัติ แฟ้มประวัติข้าราชการและ • ลูกจ้างประจำ • บริการข้อมูลประวัติบุคคล สถิติข้อมูลประวัติ • บุคคลรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการ • บริหารงานบุคคล • ดำเนินการเกี่ยวกับสิทธิและประโยชน์ของ • ข้าราชการลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว ได้แก่ • การลา บำเหน็จ บำนาญ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และ • เงินค่าทำขวัญ • พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลและรักษาทะเบียน • ประวัติให้ทันสมัย

  10. หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ กองการเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาระบบงาน • ปรับปรุงการมอบอำนาจของกรม • กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์การปฏิบัติงานและการประเมินผลการปฏิบัติงานของ • บุคลากร • ปรับปรุงการแบ่งงานภายในของหน่วยงานภายในกรม • ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของกรม • ดำเนินการสรรหา อ.ก.พ.กรมทางหลวง เสนอแนะข้อมูลเกี่ยวกับการบริหาร • และการพัฒนาการบริหารงานบุคคลของกรมทางหลวง • ควบคุมแบบฟอร์มต่าง ๆ ของกรม • จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล • ประยุกต์และพัฒนาการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานบุคคล • ของกอง

  11. หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายวางแผนกำลังคน • วางแผนอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างประจำ • ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดกลุ่มตำแหน่งต่าง ๆ เพื่อการบริหารงานบุคคล • กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ ความต้องการของตำแหน่งและคุณสมบัติในการเข้าสู่ • ตำแหน่ง • ดำเนินการเกลี่ยอัตรากำลังให้สอดคล้องกับแผนงานของกรม • ดำเนินการเปลี่ยนแปลงการกำหนดตำแหน่ง • กำหนดหลักเกณฑ์การหมุนเวียนข้าราชการ • พิจารณากำหนดทางก้าวหน้าของตำแหน่ง และแผนการสืบทอดตำแหน่ง • ประมวลการใช้ตำแหน่งและอัตรากำลัง • ดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้เป็นระดับสูงขึ้น ในตำแหน่งประเภท • วิชาการ • สำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ วางระบบข้อมูลบุคคล เพื่อใช้ในการวางแผนอัตรากำลัง

  12. หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายสวัสดิการและเจ้าหน้าที่สัมพันธ์ • ดำเนินการด้านสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลต่าง ๆ นอกเหนือจากสวัสดิการที่ • ราชการจัดให้อยู่แล้ว • ดำเนินการกิจการฌาปนกิจสงเคราะห์ของกรมทางหลวง • ดำเนินการเกี่ยวกับการประกันสังคมลูกจ้างชั่วคราว รายเดือนของกรม • ดำเนินการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากรทุกระดับของกรม • ดำเนินการคัดเลือกข้าราชการดีเด่นประเภทต่าง ๆ ของกรม • ดำเนินการเสริมสร้างจริยธรรมและปลูกฝังคุณธรรมให้แก่บุคลากรทุกระดับของกรม • ดำเนินกิจกรรมหรือกิจการที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับนโยบายจากกรม หรือการขอ • ความร่วมมือจากส่วนราชการอื่น

  13. หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ กองการเจ้าหน้าที่ ฝ่ายคุ้มครองจริยธรรม • จัดทำและทบทวนแผนกลยุทธ์ (4 ปี) และแผนปฏิบัติการ(รายปี) ในการปฏิบัติ • ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม • ตลอดจนการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • ส่งเสริมและผลักดันให้หน่วยงานในสังกัดกรม ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ(รายปี) • รวมทั้งติดตามรายงานผลการดำเนินการตามแผน • ดำเนินการสร้างมาตรฐานความโปร่งใสภายในกรม • ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน ดูแลให้เจ้าหน้าที่ของกรมปฏิบัติตามประมวล • จริยธรรมข้าราชการพลเรือน • ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่กำหนดในประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน หรือ • ตามที่ได้รับมอบหมาย

  14. หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ารับการคัดเลือกเพื่อ เลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น ตาม ว10/2548 14

  15. AGENDA • หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ • หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง วิศวกรโยธาชำนาญการ • หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ • หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ตามแนวทางดำเนินการ หลักเกณฑ์และวิธีประเมินบุคคลตาม ว10/2548 สำหรับตำแหน่งระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ • คุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับเงินเพิ่มฯ • หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะขอรับการประเมินเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ

  16. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ • คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของสายงานที่ขอประเมิน • ดำรงตำแหน่งในระดับชำนาญการมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี หรือ 2.1 ดำรงตำแหน่งในระดับ 7 หรือ ที่ ก.พ. เทียบเท่ามาแล้วไม่น้อย กว่า 1 ปี หรือ 2.2 ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 6 หรือ ที่ ก.พ. เทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า 3 ปี

  17. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ (ต่อ) • มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ - ปริญญาตรี 6 ปี - ปริญญาโท 4 ปี - ปริญญาเอก 2 ปี • กรณีระยะเวลาตามข้อ 3 ไม่ครบให้นับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการ หรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้งหรือระยะเวลาการปฏิบัติงานหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งให้ สรุปได้ดังนี้

  18. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ(ต่อ) 4.1 จะต้องดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ใน สายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 4.2 ให้นับระยะเวลาของบุคคลที่ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับปฏิบัติการ หรือเทียบเท่าเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งใน สายงานที่ จะแต่งตั้งได้ตามข้อเท็จจริง ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ 4.3 ให้นับระยะเวลาของบุคคลที่ดำรงตำแหน่งระดับปฏิบัติงานหรือ เทียบเท่าเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะ แต่งตั้งได้ไม่เกินครึ่งของระยะเวลาปฏิบัติงานที่นำมานับ

  19. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ(ต่อ) 4.4 กรณีการนับระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง จะต้องมีคำสั่งรักษาราชการแทน/รักษาการในตำแหน่งหรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวอย่างชัดเจน รวมทั้งต้องมีการปฏิบัติงานจริงด้วย 4.5 กรณีการย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ให้พิจารณาคุณสมบัติเกี่ยวกับระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งได้ตามความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ

  20. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ (ต่อ) • มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของสายงานต่าง ๆ ตามที่ ก.พ. กำหนด หรือได้รับยกเว้นจาก ก.พ. แล้ว • ต้องมีผลงาน 3 เรื่อง และเป็นผลงานที่จัดทำขึ้นในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าระดับที่จะประเมิน 1 ระดับ เว้นแต่คณะกรรมการประเมินผลงานกำหนดเป็นอย่างอื่น และข้อเสนอแนวความคิด / วิธีการพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น จำนวน 1 เรื่อง • ให้คัดเลือกเพื่อเลื่อนขั้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับสูงกว่าระดับตำแหน่งที่ผู้นั้นดำรงอยู่ได้ไม่เกิน 1 ระดับ

  21. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ตามแนวทางดำเนินการ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาม ว10/2548 สำหรับตำแหน่งระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ • กรณีผู้ที่ไม่เคยผ่านการประเมินบุคคลและผลงานตาม ว10/48 ให้ส่งผลงานเพื่อประเมินตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประเมินผลงานกำหนด • กรณีผู้ที่เคยผ่านการประเมินบุคคลและผลงานตาม ว10/48 และจัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกันตามที่ ก.พ. กำหนด เมื่อหน่วยงานเจ้าของตำแหน่งเห็นชอบในการย้าย โอน หรือบรรจุกลับเข้ารับราชการแล้ว ให้แต่งตั้งได้โดยไม่ต้องมีการประเมินผลงาน

  22. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ตามแนวทางดำเนินการ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาม ว10/2548 สำหรับตำแหน่งระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ (ต่อ) • กรณีที่นอกเหนือจากข้อ 1. และข้อ 2. ให้คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลพิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากข้อมูลบุคคลและผลงานหรือผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาและพิจารณาจากลักษณะงานที่ปฏิบัติ รวมทั้งประโยชน์ที่ทางราชการได้รับ ทั้งนี้ หากพิจารณาแล้วเห็นว่าควรจะต้องจัดทำผลงานขึ้นใหม่เพื่อที่จะแสดงถึงศักยภาพและความรู้ ความสามารถของบุคคลผู้นั้น คณะกรรมการการคัดเลือกอาจให้ส่งผลงานเพื่อประเมินเช่นเดียวกับข้อ 1.

  23. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ตามแนวทางดำเนินการ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาม ว10/2548 สำหรับตำแหน่งระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ (ต่อ) • การนับระยะเวลาเกื้อกูลกรณีผู้ขอประเมินระยะเวลาการปฏิบัติงานในตำแหน่งไม่ครบตามที่ ก.พ. กำหนด ให้คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเป็นผู้พิจารณาในการนับระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง

  24. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะขอรับการประเมินเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ ตำแหน่งวิศวกรโยธา วิศวกรเครื่องกล วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร และนักวิชาการคอมพิวเตอร์ • ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ (ระดับ 6) ไม่น้อยกว่า 2 ปี • ต้องผ่านการประเมินคุณสมบัติและผลงานตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้สำหรับใช้ในการประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งระดับ 7วช. ดังนี้ 2.1 คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี (ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) 2.2 มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ - ปริญญาตรี 7 ปี - ปริญญาโท 5 ปี - ปริญญาเอก 3 ปี

  25. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะขอรับการประเมินเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) 2.3 กรณีระยะเวลาตาม 2.2 ไม่ครบให้นับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้งหรือระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งได้ สรุปได้ดังนี้ 2.3.1 จะต้องดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 2.3.2 ให้นับระยะเวลาของบุคคลที่ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับปฏิบัติการ หรือเทียบเท่าเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งใน สายงานที่จะแต่งตั้งได้ตามข้อเท็จจริง ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ

  26. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะขอรับการประเมินเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) 2.3.3 ให้นับระยะเวลาของบุคคลที่ดำรงตำแหน่งระดับปฏิบัติงานหรือเทียบเท่าเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งได้ไม่เกินครึ่งของระยะเวลาปฏิบัติงานที่นำมานับ 2.3.4 กรณีการนับระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง จะต้องมีคำสั่งรักษาราชการแทน/รักษาการในตำแหน่งหรือคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวอย่างชัดเจน รวมทั้งต้องมีการปฏิบัติงานจริงด้วย 2.3.5 กรณีการย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ให้พิจารณาคุณสมบัติเกี่ยวกับระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งได้ตามความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับ

  27. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่จะขอรับการประเมินเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ(ต่อ) • มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของสายงานต่าง ๆ ตามที่ ก.พ. กำหนดหรือได้รับยกเว้นจาก ก.พ. • ต้องมีผลงาน 3 เรื่อง และเป็นผลงานที่จัดทำขึ้นในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าระดับที่จะประเมิน 1 ระดับ เว้นแต่คณะกรรมการประเมินผลงานจะกำหนดเป็นอย่างอื่น แต่อย่างน้อยจะต้องมีผลงานที่ต่ำกว่า 1 ระดับอยู่ด้วย และข้อเสนอแนวความคิด / วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จำนวน 1 เรื่อง

  28. หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลให้ได้รับเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่ง ที่มีเหตุพิเศษ ตำแหน่งนิติกร (พ.ต.ก.) การพิจารณา จำแนกเป็น 2 ส่วน คือ ผู้รับผิดชอบ อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม การได้รับ ปกศ. อบรมหลักสูตร นกม. ภาครัฐ พิจารณาคุณสมบัติ (ตามที่กำหนดในระเบียบ) ระยะเวลาการปฏิบัติงานด้านกฎหมายในหน่วยงานที่กำหนด (จำนวนปี) สัดส่วนการปฏิบัติงานด้านกฎหมาย (ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) ประเมิน ความรู้ความสามารถของบุคคล (ความรู้ ทักษะและผลงาน คุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคล

  29. การตรวจสอบคุณสมบัติ ผ่านการอบรมหลักสูตรนักกฎหมายภาครัฐ โดย • ได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมาย • ภาครัฐหรือหลักสูตรอื่นที่เทียบเท่าซึ่ง ก.พ. กำหนดหรือรับรอง • ปกศ. อบรมหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐ* • นิติกรปฏิบัติการ ระดับต้น • นิติกรชำนาญการ ระดับต้นหรือ • นิติกรชำนาญการพิเศษ ระดับกลาง • หลักสูตรอื่นที่เทียบเท่าซึ่ง ก.พ. กำหนดหรือรับรอง (เช่นเดียวกับแนวทางข้างต้น) * ทั้งนี้ จนกว่าสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาจะปรับปรุงโครงสร้างหลักสูตรฯ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างการจ่าน พ.ต.ก. ตามประกาศ ก.พ. เรื่อง กำหนดตำแหน่งและเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552

  30. การตรวจสอบคุณสมบัติ ระยะเวลาการปฏิบัติงานด้านกฎหมายในหน่วยงานที่กำหนด (จำนวนปีตามที่กำหนดในระเบียบ เกณฑ์การพิจารณา - ป.ตรี ไม่น้อยกว่า 4 ปี ย้อนหลัง - ป.โท ไม่น้อยกว่า 2 ปี ย้อนหลัง - ป.เอก ไม่น้อยกว่า 1 ปี ย้อนหลัง นิติกรปฏิบัติการ ไม้น้อยกว่า 2 ปี ย้อนหลัง นิติกรชำนาญการ นิติกรชำนาญการพิเศษ

  31. การตรวจสอบคุณสมบัติ สัดส่วนการปฏิบัติงานด้านกฎหมาย (ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) โดย • คำนวณจากระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ลักษณะงานที่นำมาคำนวณระยะยาว - งานด้านกฎหมายของทางราชการ 14 ลักษณะงาน - งานหลักของตำแหน่งนิติกรตามที่กำหนดใน Spec - งานที่ปฏิบัติขณะดำรงตำแหน่งนิติกรในส่วน ราชการ/หน่วยงานที่กำหนด

  32. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้เงินเพิ่มคุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้เงินเพิ่ม ปฏิบัติงานด้านกฎหมายในส่วนราชการ/ หน่วยงานที่ ก.พ. กำหนดไม่น้อยกว่า 80%ย้อนหลัง 1 ปี (ป.เอก) หรือ 2 ปี (ป.โท) หรือ 4 ปี (ป.ตรี) • นิติกร ประเภทวิชาการ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ปฏิบัติงานด้านกฎหมายในส่วนราชการ/ หน่วยงานที่ ก.พ. กำหนดไม่น้อยกว่า 80% ย้อนหลัง 2 ปี ชำนาญการพิเศษ ประเภทอำนวยการ ต้น

  33. อัตราเงินเพิ่มฯ ตำแหน่งนิติกร ประเภทวิชาการ 3,000 บาท / เดือน 4,500 บาท / เดือน ระดับต้น ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ 6,000 บาท / เดือน ประเภทอำนวยการ

  34. การจัดกลุ่มตำแหน่งประเภทวิชาการการจัดกลุ่มตำแหน่งประเภทวิชาการ กลุ่มที่ 1กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 7 วิศวกรโยธา นักทรัพยากรบุคคล นักธรณีวิทยา กลุ่มที่ 2นักจัดการงานทั่วไป กลุ่มที่ 8 วิศวกรเครื่องกล นักวิชาการสถิติ ภูมิสถาปนิก กลุ่มที่ 3นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กลุ่มที่ 9 วิศวกรไฟฟ้า เศรษฐกร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร นักวิเทศสัมพันธ์ กลุ่มที่ 5 นักวิชาการสิ่งแวดล้อม กลุ่มที่ 6 นักวิทยาศาสตร์

  35. การจัดกลุ่มตำแหน่งประเภทวิชาการ (ต่อ) กลุ่มที่ 10กลุ่มที่ 15 นายแพทย์ นักวิชาการตรวจสอบภายใน กลุ่มที่ 11นักวิชาการเงินและบัญชี ทันตแพทย์ กลุ่มที่ 16 กลุ่มที่ 12นักวิชาการเผยแพร่ เภสัชกร นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กลุ่มที่ 13กลุ่มที่ 17 พยาบาลวิชาชีพ บรรณารักษ์ กลุ่มที่ 14 นิติกร นักวิชาการจัดหาที่ดิน

  36. การจัดกลุ่มตำแหน่งประเภททั่วไปการจัดกลุ่มตำแหน่งประเภททั่วไป กลุ่มที่ 1 เจ้าพนักงานธุรการเจ้าพนักงานพัสดุ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานสถิติ กลุ่มที่ 2กลุ่มที่ 3 นายช่างโยธา นายช่างสำรวจ นายช่างเครื่องกล กลุ่มที่ 4 นายช่างไฟฟ้า เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา กลุ่มที่ 5กลุ่มที่ 6กลุ่มที่ 7 นายช่างเขียนแบบ นายช่างศิลป์ พยาบาลเทคนิค กลุ่มที่ 8กลุ่มที่ 9กลุ่มที่ 10 นายช่างพิมพ์ นายช่างภาพ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ 36

  37. หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการ ตาม ว17 1. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการหรือชำนาญการ ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานวิชาการ ซึ่งต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามที่ กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ให้กำหนดตำแหน่งในลักษณะกรอบตำแหน่ง เป็นตำแหน่งระดับปฏิบัติการหรือชำนาญการได้ทุกตำแหน่ง ทั้งนี้ การปรับปรุงการกำหนด ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ เป็นระดับชำนาญการ ให้ดำเนินการภายใต้เงื่อนไข ดังนี้  หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงานของตำแหน่งเพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญถึงขนาดที่จะต้องปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นระดับ สูงขึ้น  ผ่านการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่งตามหลักเกณฑ์การประเมินค่างานที่ ก.พ. กำหนด 37

  38. หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภทวิชาการ ตาม ว17 (ต่อ) 2. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งสำหรับหัวหน้างาน - ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานที่ต่ำกว่าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือเทียบกอง 1 ระดับให้กำหนดตำแหน่งเป็นระดับชำนาญการพิเศษ ได้ทุกตำแหน่ง ภายใต้ เงื่อนไขดังนี้ เป็นตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานที่ต่ำกว่าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือเทียบเท่า กอง 1 ระดับ และรายงานตรงต่อผู้อำนวยการกอง เป็นงานซึ่งต้องกำกับ แนะนำ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็น ตำแหน่งประเภทวิชาการไม่น้อยกว่า 4 ตำแหน่ง ปฏิบัติงานซึ่งต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานสูง มากในงานวิชาการ และต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่ยากมาก 38

  39. เป็นกลุ่มงานที่เกิดจากการจัดแบ่งงานภายในส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือ เป็นกลุ่มงานที่เกิดจากการจัดแบ่งงานภายในส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือ เทียบกอง ออกเป็นกลุ่มงานต่าง ๆ ซึ่งมีผลทำให้เกิดตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ ชำนาญการพิเศษ การจัดแบ่งงานดังกล่าว ต้องเป็นไปตาม มาตรา 3/1 แห่งพระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และมาตรา 34 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดยเคร่งครัด และการจัด แบ่งงานนั้น อ.ก.พ. กระทรวง ได้เห็นชอบด้วยแล้ว ผ่านการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่งตามหลักเกณฑ์การประเมินค่างาน ที่ ก.พ. กำหนด 39

  40. หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภททั่วไปหลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภททั่วไป 1. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติงานหรือชำนาญงาน ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรืออนุปริญญา หรืออื่น ๆ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ให้กำหนดตำแหน่งในลักษณะกรอบตำแหน่ง เป็นตำแหน่งระดับปฏิบัติงานหรือชำนาญงานได้ทุกตำแหน่ง ทั้งนี้ การปรับปรุงการกำหนด ตำแหน่งระดับปฏิบัติงาน เป็นระดับชำนาญงาน ให้ดำเนินการภายใต้เงื่อนไข ดังนี้ หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงานเพิ่มขึ้นหรือ เปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญถึงขนาดที่จะต้องปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้น ผ่านการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่งตามหลักเกณฑ์การประเมินค่างานที่ ก.พ. กำหนด 40

  41. หลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งประเภททั่วไป (ต่อ) 2. ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ตำแหน่งสำหรับหัวหน้างาน - ตำแหน่งหัวหน้างานบริหารทั่วไปอาจกำหนดเป็นตำแหน่งระดับอาวุโสได้ ภายใต้ เงื่อนไขดังนี้ เป็นตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานที่ต่ำกว่าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือเทียบเท่า กอง 1 ระดับ และรายงานตรงต่อผู้อำนวยการกอง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานแผน งานบุคลากร งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการประชุมและงานบริหารทั่วไป ที่มีความยุ่งยาก และมีขอบเขต เนื้อหาหลากหลาย และต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยุ่งยาก การปฏิบัติงานต้องกำกับ แนะนำ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 8 ตำแหน่ง 41

  42. เป็นกลุ่มงานที่เกิดจากการจัดแบ่งงานภายในส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือ เป็นกลุ่มงานที่เกิดจากการจัดแบ่งงานภายในส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกองหรือ เทียบกอง ออกเป็นกลุ่มงานต่าง ๆ ซึ่งมีผลทำให้เกิดตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับ อาวุโส การจัดแบ่งงานดังกล่าว ต้องเป็นไปตาม มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และมาตรา 34 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดยเคร่งครัด และการจัด แบ่งงานนั้น อ.ก.พ. กระทรวง ได้เห็นชอบด้วยแล้ว ผ่านการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่งตามหลักเกณฑ์การประเมินค่างาน ที่ ก.พ. กำหนด 42

  43. กรมทางหลวง การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งใน สำนักทางหลวง/แขวงการทาง 43

  44. กรมทางหลวง ตามมติที่ประชุมเพื่อทบทวนและจัดทำแผน กลยุทธ์การบริการทรัพยากรบุคคลกรมทางหลวง ปี พ.ศ. 2555 – 2558 (การปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งงานภายในและปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งในสำนักทางหลวงและแขวงการทาง ให้สอดคล้องกับภารกิจของกรม) ครั้งที่ 1/2553 44

  45. กรมทางหลวง การปรับปรุงตำแหน่งในสำนักทางหลวง ประเภทวิชาการ 1. หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป 2. ตำแหน่งในงาน งานสารบรรณ  งานการเงินและบัญชี  งานพัสดุและสัญญา การกำหนดตำแหน่งของฝ่ายบริหารงานทั่วไป ให้เป็นตำแหน่ง ประเภทเป็นวิชาการ (จะไม่ไม่ให้มีผลกระทบต่อผู้ดำรงตำแหน่งปัจจุบัน) 45

  46. กรมทางหลวง การปรับปรุงตำแหน่งในแขวงการทาง 1. หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นสายวิชาการตามเดิม 2. หากกรมจะแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติจากสายงานทั่วไปดำรง ตำแหน่งดังกล่าว ก็ให้ปรับปรุงตำแหน่งที่ว่างเป็น ตำแหน่งประเภททั่วไป (เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส) เป็นคราวๆ ไป 46

  47. 4. เงื่อนไขการย้ายเปลี่ยนสายงาน ( กรณีการสอบแข่งขัน จาก ก.พ.) จาก สายงานวิชาการ - สายงานทั่วไป 1. สอบแข่งขันได้ในตำแหน่ง (นักจัดการงานทั่วไป) ของ ก.พ. หรือหน่วยงานเปิดสอบตาม อนุมัติจาก ก.พ. 2. ต้องไปดำรงตำแหน่งระดับปฏิบัติการ อัตราเงินเดือน 22,220 บาท 3. ดำรงตำแหน่งใหม่อย่างน้อย 1 ปี ถึงมีสิทธิ์ประเมินตำแหน่งชำนาญการได้

  48. ฝ่ายวางแผนกำลังคน โทร. 0 2354 6668 - 76 ต่อ 2403, 2407, 2423

  49. Q & A

More Related