1 / 31

เรื่อง...มหัศจรรย์นวดสัมผัส

CQI ปี 2553. เรื่อง...มหัศจรรย์นวดสัมผัส. เจ้าของผลงาน กลุ่ม m & m ( miracle & massage ). นางจารุวรรณ ประดา หัวหน้าทีม นางณิราวรรณ กุลวงศ์ สมาชิก น.ส.ปรารถนา พรมวัง สมาชิก น.ส.เบญจวรรณ ภูชัน สมาชิก หอผู้ป่วยครอบครัว. หัวข้อกิจกรรม

Download Presentation

เรื่อง...มหัศจรรย์นวดสัมผัส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CQI ปี 2553 เรื่อง...มหัศจรรย์นวดสัมผัส

  2. เจ้าของผลงานกลุ่ม m & m (miracle & massage) นางจารุวรรณ ประดาหัวหน้าทีม นางณิราวรรณ กุลวงศ์สมาชิก น.ส.ปรารถนา พรมวังสมาชิก น.ส.เบญจวรรณ ภูชัน สมาชิก หอผู้ป่วยครอบครัว

  3. หัวข้อกิจกรรม การลดพฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย และเพิ่มการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครองของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา ด้วยโปรแกรม A2M (Aroma Music& Massage Program)ที่ทีมพัฒนาขึ้น โปรแกรม A2M (Aroma Music& Massage Program) หอครอบครัว สถาบันราชานุกูล ปีพ.ศ. 2553

  4. 1. ผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาที่เป็นผู้ป่วยใหม่ไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมใหม่ได้ 2. ผู้ปกครองไม่สามารถฝึกทักษะผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา ตามโปรแกรมครอบครัวได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 2 สัปดาห์ เนื่องจาก ไม่ให้ความร่วมมือ จากการปรับตัวได้ช้า

  5. 3.ปีงบประมาณ 2552 – ปัจจุบัน มีครอบครัวพร้อมผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาเข้าร่วมโปรแกรมครอบครัว 157ครอบครัว มีผู้บกพร่องที่มีปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายและมีปฏิสัมพันธ์บกพร่อง จำนวน 127คน คิดเป็นร้อยละ 80.9

  6. Act การเก็บข้อมูลก่อนการแก้ปัญหา : คะแนนปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับผู้ปกครอง

  7. Act การเก็บข้อมูลก่อนการแก้ปัญหา : คะแนนปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับผู้ปกครอง

  8. Act การเก็บข้อมูลก่อนการแก้ปัญหา : คะแนนพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายของเด็ก

  9. Act การเก็บข้อมูลก่อนการแก้ปัญหา : คะแนนพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายของเด็ก

  10. การลงมือแก้ปัญหา ลดพฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย และเพิ่มการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครองของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาด้วยโปรแกรม A2M (Aroma Music& Massage Program)ที่ทีมพัฒนาขึ้น โปรแกรม A2M (Aroma Music& Massage Program) หอครอบครัว สถาบันราชานุกูล ปีพ.ศ. 2553

  11. 3.1 เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา 3.2 เพื่อเพิ่มการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญากับผู้ปกครอง เป้าหมาย คำสำคัญ นวดสัมผัส พฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย ปฏิสัมพันธ์

  12. โปรแกรม A2M (Aroma Music & Massage Program)

  13. อุปกรณ์ที่ใช้ 1. น้ำมันหอมระเหยกลิ่นลาเวนเดอร์ 2. เตาน้ำมันหอมระเหย 3. ซีดีเพลงบรรเลง ผ่อนคลาย ชุด Bed Time Story 4. แป้งเด็ก โลชั่น

  14. เก็บข้อมูลความถี่พฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครองของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาก่อนการใช้โปรแกรม A2M 2. วันแรก สอนสาธิตผู้ปกครองให้นวดสัมผัสผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาด้วยท่าต่างๆ 38 ท่า ตามโปรแกรม A2M (Aroma Music & Massage) การดำเนินกิจกรรม

  15. 3.วันต่อมา ผู้ปกครองนวดสัมผัสผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา วันละ1 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที ระหว่างเวลา 9.30 น. -10.30 น.ของทุกวัน เป็นเวลา 9วัน 4.เก็บข้อมูลความถี่พฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครองของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาหลังการใช้โปรแกรม A2M จาก กิจกรรมการฝึกทักษะผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาของผู้ปกครอง จำนวน 2 กิจกรรม กิจกรรมละ 30 นาที การดำเนินกิจกรรม

  16. 1 .เล่นปูไต่ ท่าที่ 1 การเล่นปูไต่ 2. นวดสัมผัสเท้า ท่านวดสัมผัส ท่าที่ 3 คลึงนิ้วเท้า ท่าที่ 4 นวดใจเท้า ท่าที่ 5 เดินนิ้ว ท่าที่ 2 บริหารข้อเท้า

  17. ท่าที่ 6 ลูบขา ท่าที่ 7 บริหารข้อสะโพก ท่าที่ 8 บริหารข้อเข่า 3. นวดสัมผัสขา ท่าที่ 11 ลูบขา ท่าที่ 9 นวดคลึงขา ท่าที่ 10 หมุนสวนทาง

  18. ท่าที่ 12 บริหารข้อมือ ท่าที่ 13 นวดอุ้งมือ ท่าที่ 14 คลึงนิ้วมือ 4. นวดสัมผัสมือ

  19. ท่าที่ 15 ลูบแขน ท่าที่ 16 บริหารข้อไหล่ ท่าที่ 17 บริหารข้อศอก 5. นวดสัมผัสแขน ท่าที่ 20 ลูบแขน ท่าที่ 18 หมุนสวนทาง ท่าที่ 19 นวดคลึงแขน

  20. ท่าที่ 21 พักมือ ท่าที่ 22 เปิดหนังสือ 6.นวดสัมผัสอก ท่าที่ 23 ผสานใจ ท่าที่ 24 ท่าจบ

  21. ท่าไอเลิฟยู ท่าที่ 26 นวดรูปตัว “I ” ท่าที่ 27 นวดรูปตัว “L” ท่าที่ 25 พักมือ ท่าที่ 29 กังหันลม 7. นวดสัมผัสท้อง ท่าที่ 28 นวดรูปตัว “U”

  22. ท่าที่ 31 เปิดหนังสือ ท่าที่ 30 พักมือ ท่าที่ 32 นวดแนวกระดูกสันหลัง 8. นวดสัมผัสหลัง ท่าที่ 34 ท่าจบ ท่าที่ 33 นวดกล้ามเนื้อหลัง

  23. ท่าที่ 35 นวดหัวคิ้ว ท่าที่ 36 นวดโพรงไซนัส ท่าที่ 37 ยิ้มหวาน 9.นวดสัมผัสหน้า ท่าที่ 38 ผ่อนคลายใบหน้า

  24. การตรวจสอบข้อมูลภายหลังแก้ปัญหา (Check) โดยใช้เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา 2. แบบสังเกตปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญากับผู้ปกครอง

  25. เปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายของเด็กก่อน-หลังเข้าโปรแกรมเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายของเด็กก่อน-หลังเข้าโปรแกรม

  26. เปรียบเทียบคะแนนปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับผู้ปกครองก่อน-หลังเข้าโปรแกรมเปรียบเทียบคะแนนปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับผู้ปกครองก่อน-หลังเข้าโปรแกรม

  27. หลังผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา ได้รับการดูแลด้วยโปรแกรม A2M (Aroma Music & Massage Program) พบว่า 1. ผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา ร้อยละ 100 มีพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายลดลง โดยพฤติกรรมที่ลดลงมากที่สุด คือ พฤติกรรมทำร้ายตนเอง รองลงมา คือ พฤติกรรมทำร้ายผู้อื่น และพฤติกรรมทำลายสิ่งของ ตามลำดับ ผลของการเปลี่ยนแปลง

  28. 2. การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครอง พบว่า ร้อยละ 100 ของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและ สติปัญญามีปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครองเพิ่มมากขึ้น โดยการแสดงพฤติกรรม การมีปฏิสัมพันธ์ที่เพิ่มมากขึ้นมากที่สุด คือ การให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรม รองลงมา คือ การยอมให้จับตัว และการแสดงกริยาโอบกอด ตามลำดับ ผลของการเปลี่ยนแปลง

  29. กำหนดมาตรฐาน หอผู้ป่วยครอบครัวดำเนินกิจกรรม โปรแกรม A2M (Aroma Music& Massage Program)ในการลดพฤติกรรมก้าวร้าวทางกายและเพิ่มการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา เป็นกิจกรรมหนึ่งของโปรแกรมครอบครัวที่ดำเนินกิจกรรมทุกวัน Act

  30. ขอบคุณค่ะ

More Related