1 / 59

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ English for Communication 1

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ English for Communication 1. โดย ครูสุภัสสร จันทรังษ์. Introducing. First of all, May I introduce myself ,my name is ...ชื่อ .... อันดับแรก,ขออนุญาต แนะนำตัวเอง ,ดิฉัน/ผม ชื่อ............ Naeji_555@hotmail. มารู้จักภาษาอังกฤษกัน.

marnie
Download Presentation

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑ English for Communication 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๑English for Communication 1 โดย ครูสุภัสสร จันทรังษ์

  2. Introducing • First of all, May I introduce myself ,my name is ...ชื่อ.... • อันดับแรก,ขออนุญาต แนะนำตัวเอง ,ดิฉัน/ผม ชื่อ............ • Naeji_555@hotmail

  3. มารู้จักภาษาอังกฤษกันมารู้จักภาษาอังกฤษกัน • ภาษาอังกฤษมาจาก 2 ประเทศ ด้วยกัน 1.British English 2. American English • สี colour color • ศูนย์กลาง Centrecenter • ยางลบRubbereraser • ห้องสุขาToiletrestroom • ใบเสร็จBill Check

  4. มารู้จักภาษาอังกฤษกันมารู้จักภาษาอังกฤษกัน • British English American English • ลิฟท์Lift elevator • ชั้นที่หนึ่งG = ground floor first floor (1) • B = basement (ชั้นใต้ดิน)

  5. Alphabet พยัญชนะมีทั้งหมด 26 ตัว แบ่งเป็นสระ 5 ตัว คือ a,e,i,o,u • A = อะ,อา,เอ,แอ • B = บ • C = ซ หรือ ค • D = ด • E = อี หรือ เอ • F = ฟ • G = ก หรือ จ เมื่อมี e • H = ฮ หรือ ห

  6. Alphabet (ต่อ) • I = อิ หรือ อี • J = จ หรือ ย • K = ค หรือ ก • L = ล หรือ ฬ • M = ม • N = น หรือ ณ • O = โอ หรือ ออ • P = พ,ภ,ผ,ป • Q = คว (ควบ) • R = ร • S = ส,ศ,ซ,ษ

  7. Alphabet(ต่อ) • T = ท • U = อุ, อู,อะ • V = ฟว(ควบ) • W = ว • X = ซ,กซ (สะกด) • Y = ย หรือ อี,อาย • Z = ซ • Ng = ง

  8. Alphabet(ต่อ) • พยัญชนะผสม • Ch = ช เสียง จ ใช้กับชื่อเฉพาะ • Kh = ข • ตัวอย่างการอ่านออกเสียง • Singing • Sinking

  9. Test • ต้น • Ton • ตาล • Tan บ้าน Ban สุรัตน์ Surat

  10. Greeting( การทักทาย) • A.M. เริ่มตั้งแต่ เที่ยงคืน จนถึงก่อนเที่ยงวัน • P.M. เริ่มตั้งแต่ เที่ยงวัน จนถึงก่อนเที่ยงคืน • Good morning สวัสดีตอนเช้าใช้ตั้งแต่ 06.00-11.59 น. • Good afternoonสวัสดีตอนบ่ายใช้ตั้งแต่ 12.00-17.59 • Good evening สวัสดีตอนเย็น ใช้ตั้งแต่ 18.00 น. • Goodnight ใช้ตั้งแต่ 22.00 • have a good dream. หลับฝันดีนะ • Have a nice day . ขอให้วันนี้เป็นวันที่ดีของคุณนะ

  11. ถามไถ่ • กรณีเจอกันครั้งแรก • How do you do ? ตอบกลับ How do you do? • อาจตามด้วย การแนะนำตัว May I introduce myself ,my name is ………. • ตามด้วยยินดีที่ได้รู้จัก - Nice to meet you. - Glad to meet you. • ตอบกลับลงท้ายด้วยคำว่า Too. -+++ What is up man ? เป็นไงบ้างพวก ?

  12. Greeting ( การทักทาย) (ต่อ) • How are you? • How are you today? • How is your life? • +++ทั้ง ๓ คำนี้มีความหมายเหมือนกันคือเป็นอย่างไรบ้าง? • ตอบกลับ • I’m fine thank you ,and you? • Fine, thanks. • I’m so so (ก็งั้นๆ) 50-50 • It’s so bad. ( แย่มาก) I’m sick. (ฉันป่วย) • I’m fever. ( ฉันเป็นไข้) I’m cold ( ฉันเป็นหวัด)

  13. Number • การอ่านตัวเลขมี 2 รูปแบบ คือ 1. การอ่านแบบจำนวนนับ ( Cardinals) 2. การอ่านแบบลำดับ ( Ordinals) จำนวนนับ ( Cardinals) ตัวเลขประเภทนี้ใช้ในการนับเพื่อบอกจำนวน ปริมาณ หรือขนาด twelve 0 = zero 12 = thirteen 1 = one 13 = 15 = fifteen 2 = two twenty 5 = five 20 = 10 = ten 11 = eleven

  14. Number (ต่อ) • การอ่านจำนวนจะใช้คำว่า and เชื่อมเพื่อแบ่งหลักสิบและหลักหน่วย one hundred and forty-seven เช่น 147 = • การอ่านตัวเลขเกิน 10 เป็นต้นไปแต่ไม่ถึง 20 ให้ลงท้ายด้วยคำว่า -teen เช่น 16 = sixteen 17 = seventeen 18 = eighteen

  15. Number (ต่อ) • ยกเว้น เลข eleven 11 อ่านว่า twelve 12 อ่านว่า • และกรณีของ thirteen 13 อ่านว่า fifteen 15 อ่านว่า

  16. Number (ต่อ) • และตั้งแต่ 20 เป็นต้นไปแต่ไม่ถึงร้อยให้ลงท้ายด้วยคำว่า – ty forty เช่น 40 = sixty 60 = seventy 70 = eighty 80 = ninety 90 =

  17. Number (ต่อ) four hundred หลักร้อย hundred เช่น 400 = six thousand หลักพัน thousand เช่น 6,000 = ten thousand 10,000 = หลักหมื่น one hundredthousand หลักแสน 100,000 = one million 1,000,000 = หลักล้าน million เช่น two billion หลักพันล้าน billionเช่น 2,000,000,000 =

  18. Number(ต่อ) 9 = nine nineteen 19 = ninety-nine 99 = nine hundred and ninety-nine 999 = nine thousand nine hundred and ninety – nine 9,999 = ninety –nine thousand nine hundred and ninety-nine 99,999 =

  19. Number (ต่อ) nine hundred and ninety –nine thousand nine hundred and ninety –nine 999,999 = เลขที่คนไทยอ่านผิดมากที่สุด 5 = five 15 = fifteen 55 = fifty-five

  20. Number (ต่อ) five hundred and fifty-five 555 = five thousand five hundred and fifty-five 5,555 = 2 = two twelve 12 = 22 = twenty-two two hundred and twenty two 222 = 2,212 = two thousand two hundred and twelve

  21. Number (ต่อ) three 3 = thirteen 13 = thirty-three 33 = three hundred and thirty - three 333 =

  22. Number (ต่อ) ลำดับ ( Ordinals)– ตัวเลขประเภทนี้ใช้ในการบอกลำดับ เช่น สอบได้ที่ 1 , เข้าเส้นชัยเป็นลำดับที่ 4 เป็นต้น 1st = first second 2nd = third 3rd = fourth 4th = 5th = fifth 6th = sixth

  23. Number (ต่อ) 11th = eleventh 20th = twentieth thirtieth 30th = • * กรณีเลขตัวท้ายของลำดับไม่ได้เป็นเลข 0 เช่น ลำดับที่ 23, 32,43 หรือ 189 ให้เปลี่ยนเฉพาะเลขตัวหลังสุดเป็นการอ่านแบบลำดับเท่านั้น ส่วนเลขตัวหน้าให้อ่านแบบจำนวนนับ เช่น 21 = twenty –first

  24. Number (ต่อ) • การนำตัวเลขลำดับไปใช้งานไม่ว่าจะเขียนหรืออ่าน จะต้องนำหน้าด้วย theเสมอ the thirty second 32 = the one hundred fifth 105 =

  25. Number (ต่อ) • การอ่านเศษส่วน ( fractions )ถ้าเป็นเศษ ( ตัวเลขที่อยู่ข้างบน ) จะอ่านด้วยจำนวนนับ ตัวส่วน ( ตัวเลขที่อยู่ด้านล่าง ) จะอ่านด้วยลำดับ 1/6 = one –sixth one – fourth 1/4 = one - third 1/3 = 1/2 = one –half 1 = one whole

  26. Number (ต่อ) • ทศนิยม ( points) • การอ่านเลขทศนิยม ตัวเลขที่อยู่ด้านหน้าจุดให้อ่านแบบจำนวนนับ ส่วนจุดอ่านว่า pointตัวเลขหลังจุด ให้อ่านเรียงทีละตัว ถ้าเจอเลขศูนย์ให้อ่านว่า ohหรือ zero zero /oh point seven eight 0.78 = 10.26 = ten point two six 100.50 = one hundred point five zero/oh

  27. Number (ต่อ) • บ้านเลขที่ ( house number) • การอ่านบ้านเลขที่ จะอ่านด้วยจำนวนนับและนิยมอ่านแบบเรียงไปทีละตัวเครื่องหมาย ทับ / อ่านว่า slashหรือ stroke ถ้าหมายเลขบ้านมีถึงหลักพัน อาจแบ่งอ่านทีละคู่ก็ได้ 66/99 = six six slash nine nine 178 = one seven eight 2555/22 = twenty-five fifty-five slash twenty two

  28. Number (ต่อ) • เบอร์โทรศัพท์ ( Phone Number) • การอ่านแบบโทรศัพท์ จะอ่านด้วยจำนวนนับ โดยอ่านเรียงไปทีละตัวเลข • ถ้ามีเลขศูนย์ 0 ติดกัน 2 ตัว อาจจะพูดว่า Double 0 • กรณีมีเบอร์ที่ลงท้ายด้วยศูนย์ 2 ตัว (00) อาจพูดว่า hundred • กรณีที่เบอร์ลงท้ายด้วยศูนย์ 3 ตัว(000) พูดว่า thousandก็ได้

  29. Number (ต่อ) • การอ่านเบอร์โทรศัพท์ Tel. 02-123-456-7 • = telephone oh two one two three four five six seven • 099-999-9900 • = oh nine nineninenineninenineninehundred

  30. Number (ต่อ) • แต้มกีฬา ( Score) ถ้าแต้มเป็น 0 มักจะใช้คำว่า Love แทน ส่วนในกีฬาฟุตบอล จะใช้คำว่า Nil • การนับแต้มกีฬาจะอ่านแบบจำนวนนับ 15:10 = fifteen –ten nine – five 09:05 = 10:04 = ten- four

  31. Number (ต่อ) • การนับแต้มกีฬา กรณีที่แต้มเท่ากัน จะเรียกว่า Even แต่เวลาที่กรรมการขานคะแนน จะใช้คำว่า All 10: 00 = Ten-Love fifteen – Love 15:00 = 02:00 = two – Nil (สำหรับกีฬาฟุตบอล )

  32. Number (ต่อ) Seven all 07:07 = fifteen 05:05 = five all 00:00 = Love all Nil Nil(สำหรับกีฬาฟุตบอล ไม่ใช้ nil all ) 00:00 = • การนับแต้มเทนนิส จะแปลกไปจากกีฬาชนิดอื่นๆ คือนับตามเข็มนาฬิกา Love 0 = 15 =

  33. Number (ต่อ) • การนับแต้มกีฬาเทนนิส (ต่อ) Thirty 30 = 45 = forty-five 60 = Game

  34. Day month Year • การอ่านเขียนวันที่ ถ้าเป็นสไตล์อังกฤษ จะนิยมเขียนขึ้นต้นด้วย วัน เดือน ปี การอ่านวันที่จะใช้การอ่านแบบลำดับเช่น first, second ,third…. และใช้คำว่า Theนำหน้า • 21stMay1985 • การเขียนแบบอเมริกัน จะนิยมเขียนขึ้นต้นด้วย เดือน วัน ปี • May 21st1985

  35. Day month Year (ต่อ) The twenty –first of May nineteen eighty –five • การอ่านปี พ.ศ. และปี ค.ศ. จะใช้จำนวนนับ และแบ่งอ่านทีละคู่ 1985 = nineteeneighty –five 19 = nineteen 85 = eighty –five • เช่น • 21st May 1985

  36. Day month Year (ต่อ) • กรณีการอ่านปี ถ้าเลขคู่หลังมีเลข 0อาจจะอ่านว่า oh ส่วนปีที่ลงท้ายด้วย 00,000 หรือ ค.ศ. 2000 ขึ้นไปจะอ่านแบบตัวเลขปกติ 1800 = eighteen hundred 2009 = two thousand and nine 1909 = nineteen oh nine

  37. Day month Year (ต่อ) • ปีจะแบ่งออกเป็น ปี พ.ศ.และ ปี ค.ศ. และปีก่อนคริสตจักร มีตัวย่อดังนี้ -The twenty –first of May nineteen eighty –fiveA.D. Anno Domini A.D ปี ค.ศ. (คริสต์ศักราช) Buddhist Era B.E. ปี พ.ศ. (พุทธศักราช) B.C. Before Christ ช่วงเวลาก่อนคริสต์ศักราช 21st May 1985 เช่น

  38. Conversation 1. what is today? = Today is Sunday. • 2. What is tomorrow ? = Tomorrow will be Monday. 3. What is today’s date? = It’s June the third. 4. What is your birthday? = My birthday is on May the twenty-first.

  39. Time (เวลา) • ชาวต่างชาติจะคุ้นเคยกับการนับเวลาแบบ 12 ชั่วโมง โดยใช้การแบ่งเป็นช่วงก่อนเที่ยงและหลังเที่ยง • A.M. (อ่านว่า เอเอม) ย่อมาจาก Ante Meridiem แปลว่าก่อนเที่ยง • = 24.00-11.59 น. (12.00-11.59 A.M.) • P.M. (อ่านว่าพีเอม) ย่อมาจาก Post Meridiem แปลว่าหลังเที่ยง • = 12.00-23.59 น. (12.00-11.59 P.M.)

  40. เวลา (Time) (ต่อ) • ช่วงเวลาเป็นการบอกเวลาอีกแบบหนึ่ง • In the morning หกโมงเช้าถึงเที่ยง • At noon เที่ยงวัน • In the afternoon หลังเที่ยงวันจนถึงหกโมงเย็น • In the evening หกโมงเย็นถึงเที่ยงคืน • In the night ช่วงเวลากลางคืน • At midnight เที่ยงคืน

  41. Time (เวลา) • Minute นาที • Second วินาที Hour ชั่วโมง • การอ่านเวลาสามารถอ่านได้ 2 รูปแบบ • - รูปแบบที่ 1 อ่านแยกระหว่างชั่วโมงกับนาทีด้วยจำนวนนับ 4:00 four o’clock 4:05 four oh five 4:15 four fifteen

  42. Time (เวลา) ต่อ - รูปแบบที่ 2 เป็นการอ่านแบบเป็นทางการ ในครึ่งชั่วโมงแรกจะเป็นการบอกว่า ผ่านมากี่นาทีแล้ว ส่วนในครึ่งชั่วโมงหลัง จะเป็นการบอกว่า อีกกี่นาทีจะถึงชั่วโมงใหม่ และในนาทีที่ 15 และ45 อ่านว่าQuarterส่วนนาทีที่ 30 ใช้คำว่าhalf 4:00 four o’clock 4:05 five after four 4:10 ten after four 4:15 a quarter after four 4:30 half past four

  43. Time (เวลา) ต่อ 4:40 twenty to five a quarter to five 4:45 4:50 Ten to five • Test 3:02 = two after three a quarter after two 2:15 = 1:45 = a quarter to two 12:50 = ten to one

  44. บุพบทที่เกี่ยวกับเวลาบุพบทที่เกี่ยวกับเวลา • ถ้าพูดเกี่ยวกับ วัน ให้ใช้ On • ถ้าพูดเกี่ยวกับ เดือน ให้ใช้ In • ถ้าพูดเกี่ยวกับ ปี ให้ใช้ In • Today วันนี้ • Tomorrow วันพรุ่งนี้ • The day after tomorrow (the following day) วันมะรืนนี้ • Yesterday เมื่อวานนี้ • The daybefore yesterday (the previous day) เมื่อวานซืน

  45. Preposition (บอกตำแหน่ง) • Preposition กำกับสถานที่ at 178/99,at 9999 at+ บ้านเลขที่ on Sukhumvit R. On +ถนน in Bkk. In + เมือง/ประเทศ • Preposition กำกับวัน เวลา 0n+วัน จันทร์,อังคาร...... On Monday in the morning In+ช่วงเวลา at+noon/midnight at noon, at midnight at+เวลาตามหน้าปัด at 9.00 a.m.

  46. เรื่องน่ารู้เรื่องตัวย่อ (ต่อ) • IT = Information Technology (เทคโนโลยีสารสนเทศ) • Hi-Tech = High Technology (เทคโนโลยีขั้นสูง) • TV = Television (โทรทัศน์) • News = North-East-West-South (ข่าว) • Exp. = Expire (หมดอายุ) • Vat = value added tax ( ภาษีมูลค่าเพิ่ม) • tsp = teaspoonful (ช้อนชา) • wc = water closet (ห้องน้ำ)

  47. เรื่องน่ารู้เรื่องตัวย่อ (ต่อ) • Kph = kilometers per hour (กิโลเมตรต่อชม.) • Mph = miles per hour (ไมล์ต่อชม.) • P = park (จอด ) • R = reverse (ถอยหลัง) • D = Drive (ขับไปข้างหน้า) • N = neutral ( เกียร์ว่าง แปลว่า สภาพที่เป็นกลาง) • DIY = Do it yourself (ทำด้วยตัวเอง) • O.T. = Over Time (การทำงานนอกเวลา)

  48. เรื่องน่ารู้เรื่องตัวย่อ (ต่อ) • USA = The United States of America • IQ =Intelligence Quotient (ความฉลาดทางสติปัญญา) • EQ = Emotion Quotient (ความฉลาดทางอารมณ์) • MQ = Moral Quotient (ความพร้อมทางศีลธรรม • TOEIC = Test of English as an International Communication (แบบทดสอบภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร) • TOEFL = Test of English as aLanguage (แบบทดสอบการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ) - etc. = et cetera (อื่นๆอีกมากมาย)

  49. กาละแมCaramel • ศิวิไลCivilize • in trend ต้องใช้ว่า "trendy" หรือ "fashionable“ • over ต้องใช้คำว่า exaggerateส่วนอาการเว่อร์อีกแบบคือการทำเกินจริง เราจะใช้คำกิริยาที่ว่า "overact" เช่น You're overacting. เธอทำเว่อร์เกิน (แสดงอารมณ์เกินจริง) • ดูหนังsoundtrack คือ ดนตรีที่อยู่ในภาพยนตร์ ถ้าเราจะพูดถึงหนังฝรั่งที่พากย์เสียงภาษาไทย เราต้องบอกว่า "I want to watch an English film that is dubbed into Thai." เพราะคำกิริยาว่า "dub" คือพากย์เสียงจากต้นแบบในหนังหรือรายการโทรทัศน์ไปเป็นภาษาอื่น ส่วนหนังที่มีคำบรรยายใต้ภาพเราเรียกว่า "a subtitled film" ซึ่งคำบรรยายที่อยู่ใต้ภาพ เราเรียกว่า "subtitles" (ต้องมี s ต่อท้ายเสมอ)

  50. นักศึกษาปี 1 คนไทยมักเรียกว่า "freshly”ภาษาอังกฤษ เค้าจะใช้คำว่า "fresher" หรือ "freshman ปี 2 เราเรียก a sophomore, ปี 3 เรียกว่า a junior และ ปี 4 เรียกว่า a senior • อัดหรือบันทึก คนไทยมักพูดทับศัพท์ว่า เร็คคอร์ด (record) คำๆ นี้สามารถเป็นได้ทั้งคำนามและคำกิริยา เพียงแค่เปลี่ยนตำแหน่ง stress กล่าวคือ ถ้าจะใช้เป็นคำนามที่แปลว่า แผ่นเสียงหรือสถิติ ให้ขึ้นเสียงสูงที่พยางค์แรก คือ "เร็ค-คอร์ด" เช่น He wants to buy a record. เขาต้องการซื้อแผ่นเสียง, แต่ถ้าคุณจะหมายถึงคำกิริยาที่แปลว่า อัดหรือบันทึก ต้อง stress พยางค์หลัง ซึ่งจะอ่านว่า "รี-คอร์ด ส่วนเครื่องบันทึก เราเรียกว่า "recorder" อ่านว่า รี-คอร์-เดอร์

More Related