1 / 27

การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติ ในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้

การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติ ในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้. นายธานินทร์ ผะเอม ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

margo
Download Presentation

การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติ ในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายวิจัยสู่การปฏิบัติในระดับภูมิภาคเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ นายธานินทร์ ผะเอม ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การประชุมสัมมนาทางวิชาการในงานการนำเสนอผลงานวิจัยของชาติ (Thailand Research Expo 2010)วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้อง World Ballroom ชั้น 23ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์

  2. Agenda 1 1 ทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) 2 ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่11 3 แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ

  3. ทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) 1

  4. กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • เป็น"แผนยุทธศาสตร์“ ยึดวิสัยทัศน์ปี 2570 น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้ประเทศพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง • วิเคราะห์บริบทการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมทั้งความเสี่ยงที่ต้องเผชิญ นำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันในอีก 5 ปีข้างหน้า • ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งในการสร้างความ เข้าใจร่วมกัน การร่วมคิด และร่วมขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ

  5. กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • ความเสี่ยงของประเทศ........... 1. การบริหารภาครัฐที่อ่อนแอ 3. โครงสร้างประชากรไม่สมดุล 5. ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศมีแนวโน้มเสื่อมโทรมรุนแรง 4. ค่านิยมที่ดีงานของไทยเสื่อมถอย 2. โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน

  6. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ...........ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ........... กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 1. ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. ชุมชนเป็นกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเชื่อมโยงกันเป็นสังคมสวัสดิการ 3. การพัฒนาประเทศให้อยู่บนฐานความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. ภาคเกษตรเป็นฐานรายได้หลัก และความมั่นคงด้านอาหารของประเทศ 6.ประเทศไทยมีศักดิ์ศรีความเป็นเอกราช เป็นมิตรกับนานาประเทศ 4.สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม

  7. กรอบทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”

  8. ร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่11 2

  9. ร่างนโยบายฯ การวิจัยฉบับที่ 8 กับ แผนฯ 11 • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 1: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคม • วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระบบการเรียนรู้ วัฒนธรรม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต และสวัสดิการเพื่อความมั่นคงของชีวิต • การสร้างความเข้มแข็งและการสร้างภูมิคุ้มกันของท้องถิ่นและสังคม การเสริมศักยภาพชุมชนที่เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา รวมทั้ง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และผู้สูงอายุ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม การพัฒนาคนสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 2: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ • วิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการผลิต (เกษตร อุตสาหกรรม และบริการ) และพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์หรือสังคม • พัฒนาอุตสาหกรรมผลิตพลังงานชีวภาพและพลังงานทางเลือก และยกระดับประสิทธิภาพและมาตรฐานการให้บริการด้านโลจิสติกส์และการขนส่งสาธารณะที่มีคุณภาพ • พัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 3: การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางวิทยาการ และทรัพยากรบุคคล • พัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์ ทางสังคมศาสตร์และการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในวิทยาการต่างๆ • สร้างศักยภาพและความสามารถของทรัพยากรบุคคลในวิทยาการต่าง ๆ การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 4: การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • บริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรดิน น้ำ และภัยธรรมชาติ ACMECS BIMSTEC IMT-GT การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 5: การบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และ ภูมิปัญญา สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ • วิจัยเพื่อการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ • วิเคราะห์และประเมินผลเพื่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถการวิจัยของประเทศ

  10. แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติแนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ 3

  11. แนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติแนวทางการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ การบริหารจัดการเพื่อขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ แผนฯ 11 แนวทางดำเนินงาน ภาคีการพัฒนา นโยบายรัฐบาล • แผนบริหารราชการแผ่นดิน • นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย • แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ กระทรวง • แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการกรม • แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • แผนพัฒนาท้องถิ่น ขั้นตอนการดำเนินงาน รัฐบาล/สศช. ราชการส่วนกลาง กระทรวง/กรม จังหวัด/ท้องถิ่น • สร้างความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของแผนฯ เกิดการยอมรับ แล้วนำไปสู่การผสมผสานและสอดแทรกไว้ในแผนปฏิบัติการต่างๆ ความเข้าใจวัตถุประสงค์ กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติ สมาคมธนาคารไทย สภาอุตสาหกรรม หอการค้าไทย สมาคมผู้ประกอบการ การยอมรับเข้าเป็นงานสำคัญ • แผนขับเคลื่อนภาคเอกชน • แผนขับเคลื่อนธุรกิจรายสาขา • แผนกลยุทธ์องค์กร • พัฒนาวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการแปลงแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติที่เหมาะสม วิธีการ/เครื่องมือในการแปลงแผนฯ องค์กรพัฒนาเอกชน มูลนิธิ อาสาสมัคร • แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ • แผนงาน/โครงการ • กิจกรรมระดับพื้นที่ • จัดทำระบบการติดตามประเมินผลและสร้างตัวชี้วัดการพัฒนาที่สามารถนำไปใช้กำกับ การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างระบบการติดตามประเมินผล สภาชุมชน กรรมการหมู่บ้าน ประชาคม • แผนชุมชน

  12. www.nesdb.go.th

  13. Back Up 13

  14. 1 หัวเรื่องที่6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559)

  15. แนวทางการสร้างความเป็นธรรมในสังคมแนวทางการสร้างความเป็นธรรมในสังคม การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • สร้างความแข็งแกร่งให้เศรษฐกิจฐานราก • ปรับระบบการคุ้มครองทางสังคมให้ครอบคลุมทุกคนอย่างทั่วถึง • ส่งเสริมการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดความเป็นธรรม • ส่งเสริมการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิต • สนับสนุนการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ ในการสร้างค่านิยมใหม่ • พัฒนาความสัมพันธ์ของกลุ่มต่างๆ ในสังคมให้เข้มแข็ง • อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมที่ดีงาม เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี • ส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองที่มีธรรมาภิบาล • สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจให้เกิดขึ้นกับคนในสังคม คุณภาพสังคม (Social Quality) • สร้างโอกาสให้กลุ่มด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางสังคมอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม • เสริมสร้างความมั่นคงให้คนยากจนมีความพร้อมรับผลกระทบจากวิกฤตต่างๆ • เสริมสร้างพลังทางสังคมให้ทุกคนสามารถแสดงออกทางความคิดอย่างอิสระ • เสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนให้จัดการปัญหาต่างๆ • ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย • เสริมสร้างระบบบริหารราชการให้เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ เน้นการสร้างภูมิคุ้มกันระดับปัจเจกและสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาประเทศ เพิ่มทางเลือกการใช้ชีวิตในสังคมและสร้างการมีส่วนร่วมในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองได้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี การจัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิพึงมีพึงได้ การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วน

  16. แนวทางการพัฒนาคนสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนแนวทางการพัฒนาคนสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ส่งเสริมคนไทยให้มีการเกิดที่มีคุณภาพและกระจายตัวเหมาะสมกับพื้นที่ พัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เสริมสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมไทยทีดี • 1) เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี และวัฒนธรรมประชาธิปไตย โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน • 2) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันหลักของสังคมมีบทบาทหลักในการหล่อหลอม บ่มเพาะเด็ก/เยาวชน และปลูกจิตสำนึกกลุ่มคนต่างๆ ให้มีวัฒนธรรมและค่านิยมที่ดีงาม • 3) ส่งเสริมองค์กรธุรกิจในการดำเนินงานที่รับผิดชอบต่อสังคม • พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี IQ EQ MQ • 2) พัฒนาด้านวิชาการแก่เด็กวัยเรียน ทั้งมาตรฐานการศึกษา คุณภาพครู และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม • 3) จัดให้มีกลไกการขับเคลื่อนและสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษา • 4) พัฒนาสมรรถนะกำลังแรงงาน: ภาคเกษตร กำลังคนระดับกลาง กำลังคนด้าน S&T • 5) พัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงด้านรายได้ นำความรู้มาใช้พัฒนาประเทศ • 6) พัฒนาคนให้มีการเรียนรู้ในศาสตร์วิทยาการที่ประกอบอาชีพได้หลากหลาย ควบคู่กับเสริมสร้างทักษะให้มีจิตสาธารณะ 5 ด้าน* • 1) สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยการสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน • 2) เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลายและสอดคล้องกับภูมิสังคม ควบคู่กับการใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั่วไป • 3) สร้างปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยพัฒนาองค์ความรู้ของท้องถิ่น และปรับปรุงกฎระเบียบ • 4) จัดระบบความสัมพันธ์ของสวัสดิการทางสังคมให้เชื่อมโยงและเกื้อกูลกัน ควบคู่กับกระจายอำนาจให้ชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต • ส่งเสริมการเกิดที่มีคุณภาพและรักษาระดับอัตราเจริญพันธุ์ให้เหมาะสม • 2) มุ่งพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพอย่างมีส่วนร่วม ควบคู่กับส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งในการดำเนินการด้านสุขภาพ • 3) ส่งเสริมสนับสนุนการกระจายตัวของประชากรให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ และฐานข้อมูลของการย้ายถิ่น *การเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต คิดเป็น ทำเป็น การสังเคราะห์ความรู้ สั่งสม และต่อยอดสู่นวัตกรรมความรู้

  17. แนวทางการพัฒนาการสร้างสมดุลอาหารและพลังงานแนวทางการพัฒนาการสร้างสมดุลอาหารและพลังงาน 1 พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรและสร้างมูลค่า 2 3 สร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้แก่เกษตรกร สร้างความมั่นคงด้านอาหารและหลังงานในระดับครัวเรือนและชุมชน 4 5 สร้างความมั่นคงด้านพลังงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและความเข้มแข็งภาคเกษตร 6 ปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเสริมสร้างความสมดุลด้านอาหารและพลังงาน

  18. แนวทางการพัฒนาการสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อมแนวทางการพัฒนาการสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม ให้ความสำคัญต่อการใช้นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งต่อยอดองค์ความรู้ ในการสร้างมูลค่าตลอดห่วงโซ่อุปทาน เป็นพลังขับเคลื่อนหลักสู่เศรษฐกิจสมดุลและยั่งยืนในระยะยาว

  19. แนวทางการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนแนวทางการพัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและพฤติกรรมการบริโภคสู่สังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของภาคการผลิตและบริการ 4 การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน 5 การยกระดับขีดความสามารถในการปรับตัวรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 6 การพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นธรรม

  20. แนวทางการพัฒนาการสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาคแนวทางการพัฒนาการสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค • ผลักดันให้อาเซียนมีบทบาทนำที่สร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศ • ยกระดับการให้บริการด้านสุขภาพและสาธารณสุข • ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานและทักษะด้านภาษา • สร้างความเข้มแข็งสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน 1. สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • พัฒนาบริการขนส่งและโลจิสติกส์ • ปรับปรุงกฎระเบียบการขนส่งคนและสินค้า • พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนส่งและโลจิสติกส์ 2. ขยายความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ • สร้างศักยภาพชุมชนท้องถิ่นให้รับรู้และเตรียมพร้อมรับกระแสการเปลี่ยนแปลง • สนับสนุนกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ในการกำหนดยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้พัฒนาเชื่อมโยงกับเพื่อนบ้านในทิศทางที่สอดคล้องกับนโยบายระหว่างประเทศ • ส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและเครือข่ายสถาบันการศึกษา 3. ปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีการพัฒนาตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถิ่น 4. สนับสนุนการเปิดการค้าเสรีและวางแนวทางป้องกันผลเสียที่จะเกิดขึ้น • เร่งปฏิรูปกฎหมายศก. กฎ ระเบียบต่างๆให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจการค้า/ลงทุนอย่างเป็นธรรม & ผลักดันประกาศใช้กฎหมายใหม่ๆรองรับการเปิดเสรี • ส่งเสริมการจดสิทธิบัตร การคุ้มครองและบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา 5. พัฒนาฐานลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในภูมิภาค • พัฒนาพื้นที่ภาคต่างๆของประเทศให้เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะในแนว EWEC NSEC • พัฒนาเขตศก.ชายแดน/เมืองชายแดนให้เป็นประตูเชื่อมโยงศก.กับประเทศเพื่อนบ้าน • บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน เพื่อประโยชน์ด้านมั่นคงและเสถียรภาพพื้นที่ • เร่งดำเนินการด้านการยอมรับมาตรฐานฝีมือระหว่างประเทศเพื่ออำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงาน • ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยายการลงทุนไปสู่ต่างประเทศ • คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิและผลประโยชน์ของคนไทยและแรงงานไทยในต่างประเทศ 6. สร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาค 7. เสริมสร้างความร่วมมือที่ดีระหว่างประเทศสนับสนุนการเจริญเติบโตศก.อย่างมีจริยธรรมไม่กระทบสวล. • ดำเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง • เสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการที่นำสู่การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • พัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการป้องกันและแก้ปัญหาข้ามชาติทั้งระบบ • เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติและเหตุฉุกเฉิน • ร่วมมือป้องกันการติดเชื้อและการแพร่ระบาดของโรคภัยที่เกิดขึ้นใหม่ในโลก 8. ขยายความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ

  21. ทิศทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคตทิศทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต • ใช้แรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก • การพัฒนาเศรษฐกิจใช้วิธีการแข่งขันด้วยราคา • พึ่งพาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีการผลิตจากต่างประเทศในการพัฒนาประเทศ • การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ตลอดห่วงโซ่การผลิต • การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันทาง ศก. พร้อมกระจายรายได้และสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจ • การยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชน • เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาคเกษตร ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก • ส่งออกสินค้าขั้นพื้นฐานที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจต่ำ • ใช้แนวคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม รวมทั้งต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อสร้างผลิตภาพการผลิตและมูลค่าตลอดห่วงโซ่อุปทาน • ใช้ความได้เปรียบด้านที่ตั้งและเอกลักษณ์ความเป็นไทย สนับสนุนให้ไทยเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าและการผลิตสินค้าและบริการบนฐานความรู้ นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภูมิภาค 2525 2500 2553

  22. 2 หัวเรื่องที่ความเชื่อมโยงร่างนโยบายฯ การวิจัยฉบับที่ 8 กับ แผนฯ 11

  23. ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 1: ร่างนโยบายวิจัย การพัฒนาคนสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  24. ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 ร่างนโยบายวิจัย แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 2: การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค

  25. ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 3: ร่างนโยบายวิจัย การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม

  26. ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ร่างนโยบายวิจัย ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 4:

  27. ร่างนโยบายฯ การวิจัย กับ แผนฯ 11 แผนฯ 11 ร่างนโยบายวิจัย ยุทธศาสตร์วิจัยที่ 5:

More Related