1 / 25

การเลี้ยงปลากะรังดอกแดง ( Epinephelus coioides , Hamilton, 1822 )

การเลี้ยงปลากะรังดอกแดง ( Epinephelus coioides , Hamilton, 1822 ) ระยะวัยรุ่นให้ได้ขนาดตลาดในระบบน้ำหมุนเวียน คณะผู้วิจัย อรัญญา อัศวอารีย์ ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร นิคม ละอองศิริวงศ์ สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง.

maren
Download Presentation

การเลี้ยงปลากะรังดอกแดง ( Epinephelus coioides , Hamilton, 1822 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเลี้ยงปลากะรังดอกแดง (Epinephelus coioides, Hamilton, 1822) ระยะวัยรุ่นให้ได้ขนาดตลาดในระบบน้ำหมุนเวียน คณะผู้วิจัย อรัญญา อัศวอารีย์ ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร นิคม ละอองศิริวงศ์ สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

  2. ปัจจัยที่มีผล ระบบน้ำหมุนเวียน • ความเหมาะสม • ผลตอบแทน • การทดแทน ลดต้นทุน • ขยายผลไปสู่การปฏิบัติจริง

  3. ความสำคัญและที่มาของงานวิจัยความสำคัญและที่มาของงานวิจัย 1. ระบบน้ำหมุนเวียนลดการถ่ายน้ำทิ้งลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ 2. ระบบน้ำหมุนเวียนสามารถทำการเลี้ยงที่ระดับความหนาแน่นสูงได้ 3. ระบบน้ำหมุนเวียน สามารถบำบัด การเกิดของเสียในระบบการเลี้ยง ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโต อัตรารอดตายของสัตว์น้ำได้

  4. ความสำคัญและที่มาของงานวิจัย (ต่อ) • 4. ระบบการบำบัดที่ดี ต้องมีประสิทธิภาพสูงสุดและเหมาะสมที่สุด หรือช่วยลดภาระของเสียออกจากระบบการเลี้ยง • 5. ระดับอัตราการไหลเวียนของน้ำที่เหมาะสมต่อชนิดสัตว์น้ำนั้นๆ • เช่น ที่เยอรมัน เลี้ยงปลาตาเดียวหรือ TURBOT อัตราการหมุนเวียนของน้ำสูง • ถึง 48 รอบต่อวัน หรือ 1,200 ลบ.ม/ชม. สามารถให้ผลผลิต 166.7 กก./ลบ.ม. • และมีการพัฒนาวัสดุกรองแบบชีวภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบหรือใช้ • Protein Skimmer ช่วยลดภาระของเสียออกจากระบบ เป็นต้น

  5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเจริญเติบโต อัตรารอดตายและผลผลิตของ ปลากะรังดอกแดงในระบบน้ำหมุนเวียน ที่อัตราความหนา- แน่นและอัตราการไหลเวียนของน้ำต่างกัน 2. เพื่อหาแนวทางในการเลี้ยงปลากะรังดอกแดงให้ได้ขนาด ตลาด ในระบบน้ำหมุนเวียน

  6. วิธีดำเนินการแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ที่อัตราการไหลเวียนของน้ำต่างกัน ความหนาแน่น 40 ตัว/ลบ.ม 1.1 อัตราการไหลเวียนของน้ำ 750 เปอร์เซ็นต์/วัน 1.2 อัตราการไหลเวียนของน้ำ 500 เปอร์เซ็นต์/วัน ส่วนที่ 2ที่อัตราความหนาแน่นต่างกัน 4 ระดับ อัตราการไหลเวียนของน้ำ 30 ลบ.ม./วัน หรือ 500 เปอร์เซ็นต์/วัน บ่อเลี้ยงบรรจุน้ำ 4 ลบ.ม. 2.1 ความหนาแน่น 30 ตัว/ลบ.ม หรือ 120 ตัว/บ่อ 2.2 ความหนาแน่น 40 ตัว/ลบ.ม หรือ 160 ตัว/บ่อ 2.3 ความหนาแน่น 50 ตัว/ลบ.ม หรือ 200 ตัว/บ่อ 2.4 ความหนาแน่น 60 ตัว/ลบ.ม หรือ 240 ตัว/บ่อ ระยะเวลาดำเนินการ 8 เดือน ต่อ

  7. ประสิทธิภาพ(%) = (N(x1)– N(x2)) x 100 N(x1) โดยที่ N= ความเข้มข้นของสารตัวแปรที่สนใจ x1 = ตัวอย่างน้ำที่เข้าสู่ระบบบำบัด x2 = ตัวอย่างน้ำที่ออกจากระบบบำบัด

  8. การจัดการ ระหว่างการทดลองเลี้ยง 1. น้ำหนักปลาเริ่มต้นเฉลี่ย 125.7 กรัม ความยาวเฉลี่ย 19.5 ซม.หรือ 8 นิ้ว 2. การให้อาหาร ระยะเวลา 5 เดือนแรกให้อาหารเม็ด และปลาสด 3 เดือนหลัง วันละ 1 ครั้ง กินจนอิ่ม บันทึกการกินอาหารทุกวัน 3. เก็บและตรวจเช็คคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยง และน้ำเข้า-ออกในระบบบำบัด ทุก 2 สัปดาห์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบำบัด 4. ทำการสุ่มตัวอย่างปลา เพื่อชั่งน้ำหนัก ทุก 1 เดือนเพื่อเก็บข้อมูลด้านการ เจริญเติบโต อัตรารอด และผลผลิต 5. เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ชั่งน้ำหนักปลารวม นับจำนวนปลาที่เหลือแต่ละบ่อ 6. วิเคราะห์ข้อมูล Analysis of variance (ANOVA) และ Duncan, s new multiple range testที่ความเชื่อมั่น 95% ใช้โปรแกรม SPSS for window

  9. บำบัด 1 บำบัด 2 500 % 750 % บำบัด 3 750 % 500 % บ่อพัก ชุดการเลี้ยงปลากะรังดอกแดงที่อัตราการไหลเวียนของน้ำต่างกัน

  10. 60 ตัว/ม3 บำบัด 1 60 ตัว/ม3 บำบัด 2 บำบัด 3 50 ตัว/ม3 50 ตัว/ม3 40 ตัว/ม3 40 ตัว/ม3 บ่อพัก 30 ตัว/ม3 30 ตัว/ม3 ชุดระบบการเลี้ยงปลากะรังดอกแดงที่อัตราความหนาแน่นต่างกัน

  11. ผลการทดลอง 1. ผลของอัตราการไหลเวียนของน้ำต่อการเลี้ยงปลากะรังดอกแดง

  12. 2. ผลของความหนาแน่นต่อการเลี้ยงปลากะรังดอกแดง • ค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโต ระดับความหนาแน่น (ตัว/ลบ.ม.) • 30 40 50 60 • นน.เริ่มต้น (ก./ตัว) 125.7+38.2 125.7+38.2 125.7+38.2 125.7+38.2 • นน.สุดท้าย (ก.) 874.0+65.1 a 754.9+88.9 a 703.4+33.5 a 977.4+73.1 a • นน.เพิ่ม/วัน (ก./วัน) 3.14+0.3 a 2.63+0.4 a 2.30+0.1 a 3.05+0.8 a • ผลผลิต (กก./ม3) 20.0+3.98 a 22.6+2.32 a 26.4+1.11 a44.9+4.0 b • ADG (ก./วัน) 3.12+2.1 a 2.62+1.7 a 2.41+1.5 a 3.55+3.3 a • อัตรารอดตาย (%) 88.8+9.9 a 90.0+3.5 a 91.5+1.4 a 87.7+0.3 a • FCR อาหารเม็ด 1.82+0.5 a 1.70+0.03 a 1.74+0.2 a 1.64+0.05 a • FCR ปลาสด 3.42+0.4a 4.21+0.8 a 3.98+0.2 a 2.76+0.3 a

  13. คุณภาพน้ำระหว่างการเลี้ยง (ปริมาณแอมโมเนีย) ที่ระดับความหนาแน่นต่างกัน ที่อัตราการไหลเวียนของน้ำต่างกัน 60 ตัว/ม350 ตัว/ม3 40 ตัว/ม3 30 ตัว/ม3 750% 500%

  14. อัตราการเจริญเติบโตของปลากะรังในระดับอัตราการไหลเวียนของน้ำต่างกัน (n = 30)

  15. อัตราการเจริญเติบโตของปลากะรังดอกแดง ในระดับความหนาแน่นต่างกัน (n = 30)

  16. ประสิทธิภาพในการบำบัดคุณภาพน้ำของระบบบำบัดประสิทธิภาพในการบำบัดคุณภาพน้ำของระบบบำบัด 1. แอมโมเนีย

  17. 2. ไนไตรท์

  18. ต้นทุนและผลตอบแทน ต้นทุนผันแปร (อาหาร + พันธุ์ปลา + ค่าไฟฟ้า) ค่าไฟฟ้าตลอดการเลี้ยงประมาณ 48,000 บาท/ทั้ง 4 ชุดการทดลอง ชุดการทดลอง 30 ตัว/ลบ.ม. ต้นทุน 26,000 บาท ชุดการทดลอง 40 ตัว/ลบ.ม. ต้นทุน 30,000 บาท ชุดการทดลอง 50 ตัว/ลบ.ม. ต้นทุน 33,800 บาท ชุดการทดลอง 60 ตัว/ลบ.ม. ต้นทุน 39,800 บาท รวมค่าใช้จ่ายผันแปรทั้งหมด 4 ชุดการทดลอง = 129,600 บาท

  19. ผลตอบแทน ชุดการทดลอง 30 ตัว/ลบ.ม. รายได้  32,000 บาทกำไร 6,000 บาทชุดการทดลอง 40 ตัว/ลบ.ม. รายได้  36,160 บาทกำไร 6,160 บาทชุดการทดลอง 50 ตัว/ลบ.ม. รายได้  42,280 บาทกำไร 8,480 บาทชุดการทดลอง 60 ตัว/ลบ.ม. รายได้  71,720 บาทกำไร 31,920 บาทรวมรายได้ทั้งหมด 4 ชุดการทดลอง =182,160 บาท จะได้กำไร 52,560 บาท/รุ่น

  20. สรุปและวิจารณ์ผลการทดลองสรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 1. ที่อัตราความหนาแน่น 60 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร สามารถให้ผลผลิต สูงกว่า ชุดอื่นๆ 2. ที่อัตราการไหลเวียนของน้ำ 500 เปอร์เซ็นต์ต่อวัน มีอัตราการ เจริญเติบโต อัตราการแลกเนื้อ และผลผลิตดีกว่า 750% ซึ่งเหมาะสมกับการเลี้ยงปลากะรังดอกแดง 3. อาหาร ควรจะเป็น อาหารเม็ด ดีกว่า ปลาสด เนื่องจากคุณภาพน้ำ ในระบบต่ำกว่าขณะเลี้ยงด้วยอาหารเม็ด

  21. ข้อเสนอแนะ • ควรมีการพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดที่จะรองรับผลผลิตที่สูงขึ้น • เพิ่มความหนาแน่น เพื่อให้ผลผลิตที่สูงขึ้น เพื่อเพิ่มผลตอบแทน ที่คุ้มค่า • 3. ควรส่งเสริมการใช้อาหารเม็ดแทนการใช้ปลาสด ในการเลี้ยง • สัตว์น้ำ เพื่อลดผลกระทบ ต่อคุณภาพน้ำในบ่อหรือแหล่งเลี้ยง

  22. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) 4. ควรส่งเสริมให้มีการเลี้ยงสัตว์น้ำในระบบปิดน้ำหมุนเวียน เพื่อลดการสิ้นเปลืองการใช้น้ำ ลดมลพิษจากการถ่ายน้ำทิ้ง และควบคุมดูแลง่าย

  23. จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่www.nicaonline.com

More Related