1 / 15

การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม

การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม. งาน สัมมนาวิชาการเครือข่ายระบบทะเบียนนักศึกษาและประมวลผล การศึกษา ทั่ว ประเทศ ครั้งที่ 8. ประเภทงานวิจัย. การวิเคราะห์ กระบวนการประมวลผล การศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การทำงาน. วัตถุประสงค์การวิจัย.

manning
Download Presentation

การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม งานสัมมนาวิชาการเครือข่ายระบบทะเบียนนักศึกษาและประมวลผลการศึกษา ทั่วประเทศ ครั้งที่ 8 ประเภทงานวิจัย

  2. การวิเคราะห์กระบวนการประมวลผลการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการประมวลผลการศึกษา และวิธีแก้ไขปัญหาการปรับปรุงงานกระบวนการปลดล็อค การแก้ไขเกรดโดยการออกแบบระบบสารสนเทศTwo- Way Grading Confirm • ลดการใช้ระบบManual ของเจ้าหน้าที่

  3. กระบวนการดำเนินงาน • การดำเนินการวิจัย

  4. วิธีการ :FLOWCHARTผลการศึกษา กระบวนการส่งเกรด ประกาศเกรด ปลดล็อค ตรวจสอบผู้พิมพ์รายงานเกรด • การดำเนินการวิจัย/ผล ขั้นตอนที่ 1 การศึกษากระบวนการประมวลผลการศึกษา

  5. วิธีการ :AAR CHECK SHEETผลการศึกษา กระบวนการปลดล็อค การแก้เกรด I,เกรดทั่วไปผ่านระบบ MANUAL • ขั้นตอนที่ 2 การค้นหาปัญหา (Q,C,D) เพื่อคัดเลือกปัญหา

  6. ขั้นตอนที่ 3 สำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย • วิธีการ :WHY-WHY ANALYSIS บัตรความคิด ผลการศึกษา ดัชนีความรุนแรง ความเป็นไปได้ ความคุ้มค่า 375 คะแนน ความรุนแรง ระดับ 5 คือ การขอปลดล็อค,การแก้ไขเกรด ลดการใช้ MANUAL จนท.ให้ทำผ่านระบบทั้งหมด9

  7. ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์สาเหตุปัญหากำหนดแผนการแก้ไข • วิธีการ WHY-WHY ANALYSIS ปรับปรุงวิธีทำงานECRS+ระดมสมอง ผลการศึกษา การไม่ปฏิบัติตาม WI ไม่มีการควบคุม ไม่มีการออกแบบระบบที่เหมาะสมกับสภาพทำงานจริง ขั้นตอนเยอะ

  8. ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินการปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข • วิธีการ ::5W1H+ พัฒนาโปรแกรม TWO-WAY GRADING CONFIRMผลการศึกษา ออกแบบโปรแกรม TWO-WAY GRADING CONFIRM:แก้เกรด โปรแกรม DOUBLE CONFIRM FOR REVISE GRADING การปลดล็อค

  9. ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินการปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข (ต่อ) • การเปรียบเทียบมาตรการแก้ไขการขอปลดล็อคระบบเพื่อแก้ไขการบันทึกเกรด

  10. ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินการปฏิบัติตามมาตรการแก้ไข (ต่อ) • การเปรียบเทียบมาตรการแก้ไขเกรด I และการแก้เกรดทั่วไป

  11. ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบผลสรุปผลการแก้ไข • วิธีการ :เปรียบเทียบผล:กราฟเรดาร์ ผลการศึกษา ผลการทดสอบการใช้โปรแกรมกับกลุ่มตัวอย่าง+จนท. 15 วิชา เดือน มิ.ย.-ก.ย. 56 ลดปัญหาลง 100% ความพึงพอใจของ จนท. สูงขึ้นจากเดิม 65% เป็น 97.33%

  12. ขั้นตอนที่ 7 จัดทำมาตรฐานสรุปผล • วิธีการ :จัททำคู่มือการใช้งานโปรแกรม (WI) ผลการศึกษา จัดทำคู่มือการใช้งานโปรแกรม TWO-WAY GRADING CONFIRM จัดสอนวิธีการใช้งาน ตรวจประเมินวิธีทำงานของเจ้าหน้าที่ทุกภาคเรียน

  13. ลดปัญหาการทำงาน ระบบ MANUAL ของเจ้าหน้าที่ใน การแก้เกรด I,เกรดทั่วไป,ขอปลดล็อคลงได้ 100% ผลทางตรง PRODUCTIVITY : เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการปฏิบัติงาน การขอปลดล็อคแก้ไขเกรดของระบบ สารสนเทศการประมวลผลการศึกษาให้ สูงขึ้น สะดวก รวดเร็ว ผลทางอ้อม QUALITY : เพิ่มคุณภาพของงานลดช่องโหว่,ข้อบกพร่องการทำงานของระบบ MANUAL • การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์

  14. COST : ประหยัดโดยพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้เอง โดยแก้ไข ปรับปรุงระบบให้ผู้สอน และเจ้าหน้าที่ ต้องทำคู่กัน ทั้ง 2 ฝ่ายในระบบที่พัฒนาใหม่ (TWO-WAY GRADING SYSTEM) ผลทางอ้อม DELIVERY : ตอบสนองความต้องการของผู้สอน ในการขอ ปลดล็อคแก้ไขเกรดได้ถูกต้อง รวดเร็ว • การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (ต่อ)

  15. SAFETY : ป้องกัน/ไม่เสี่ยง/ปลอดภัย ทั้งเจ้าหน้าที่+ผู้สอน ยืนยันเกรดในระบบคู่กัน ผลทางอ้อม MORALE : ผู้ปฏิบัติงานมีความสุข และความพอใจในการ ทำงานมากขึ้น ปัญหาลดลง ทำงานเป็นทีมงาน ประมวลผล+งาน IT และมีส่วนร่วมฝึกการคิด แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ • การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (ต่อ)

More Related