1 / 20

ASSIGNMENT

DESIGN. ASSIGNMENT. “ ใบตองตึง ”หลังคาธรรมชาติ. By Mr. Aphisit muenapri 51710403. วัตถุประสงค์. เพื่อต้องการทราบที่มาของคำว่า “ ใบตองตึง ” เพื่อต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ เพื่อศึกษาวัสดุในท้องถิ่นใน จ.พิษณุโลก เพื่อต้องการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์

manju
Download Presentation

ASSIGNMENT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DESIGN ASSIGNMENT “ใบตองตึง”หลังคาธรรมชาติ By Mr. Aphisitmuenapri 51710403

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อต้องการทราบที่มาของคำว่า “ใบตองตึง” • เพื่อต้องการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ • เพื่อศึกษาวัสดุในท้องถิ่นใน จ.พิษณุโลก • เพื่อต้องการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ • เพื่อต้องการศึกษาระยะเวลาการใช้งานของ “ใบตองตึง

  3. แนวทางการศึกษา • ศึกษาค้นคว้าทาง Internet • ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากห้องสมุด • สอบถามข้อมูลจากผู้มีความรู้ในหมู่บ้านที่ไปศึกษาในเขต จ.พิษณุโลก

  4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • นำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ออกแบบรีสอด • นำสิ่งที่ได้จากการศึกษา “ใบตองตึง” ไปพัฒนาต่อ • เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ • เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาให้ลูกหลานได้ศึกษาต่อไป

  5. ใบตองตึง • “ใบตองตึง”เป็นใบไม้จากต้นไม้ที่มีชื่อว่า “ยางพลวง” • ชื่อวิทยาศาสตร์ :   DipterocarpustuberculatnsRoxb.ชื่อวงศ์ : DIPTEROCARPACEAEชื่อสามัญ : พลวงชื่ออื่น : กุง (อุบลราชธานี, อุดรธานี, ปราจีนบุรี) คลอง (เขมร) ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย) ตึง, ตึงขาว (ภาคเหนือ) พลวง, ยาง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางพลวง (ภาคกลาง) พลอง, แลเท้า (กะเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน)ประเภทไม้ : ไม้ยืนต้น

  6. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น : ไม้ยืนต้นขนาดกลาง-ใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาอ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวของลำต้น กิ่งอ่อนเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีรอยแผลใบเห็นชัด ใบ:เดี่ยว เรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างขนาด 15-28 X 15-40 ซ.ม. โคนใบแผ่กว้าง แล้วหยักเว้า ปลายใบสอบทู่ เนื้อใบหนาเกลี้ยงหรืออาจมีขนกระจายห่างๆบ้าง ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ก้านใบยาว 3-30 ซ.ม.

  7. ดอก :ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ตอนปลายกิ่ง มีกาบหุ้มช่อดอกรูปขอบขนาน แคบๆ หนึ่งกาบ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบบิดตามเข็มนาฬิกาเหมือนกังหัน ก่อนออกดอกจะทิ้งใบ หมดหรือเกือบหมด สีชมพู-ชมพูเข้ม ขอบกลีบสีขาว กลิ่น  -   ออกดอกเดือน ธ.ค.-เม.ย. ผล: เป็นรูปกรวย มีสันด้านข้างผล 5 สัน และพองโตเป็นติ่ง 5 ติ่งตรงที่ติดกับโคนปีก มีปีกยาว 2 ปีก ยาว 10-15 ซ.ม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น ผลแก่ประมาณ ม.ค. - พ.ค. แหล่งที่พบ:ป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง ที่พบขึ้นอยู่ทุกภาคของประเทศ

  8. ประโยชน์และความสำคัญ • การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้เนื้อไม้ในระยะแรกๆ จะออกสีน้ำตาลแกมแดง ถ้าทิ้งไว้นานจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม เสี้ยนตรงพอประมาณ เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ แข็ง เลื่อยผ่าไสกบตบแต่งง่าย ใช้ทำสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ภายในร่ม เช่น เครื่องบน รอด ตง คาน พื้น ฝา ทำเครื่องมือทางการเกษตร หูกทอผ้า กังหันน้ำ ปาร์เก้ หรือกระเบื้องไม้ปูพื้น

  9. การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรน้ำมันใช้ทาแผลภายนอก โดยผสมกับมหาหิงคุ์ และน้ำมันมะพร้าวก็ได้ ใบ เผาให้เป็นเถ้าผสมกับน้ำปูนใส แก้บิดและถ่ายเป็นมูกเลือก ราก นำมาต้มแล้วดื่มแก้ตับอักเสบการใช้ประโยชน์ทางด้านอื่นๆชันใช้ทาไม้ ยาเรือ หรือ ยาเครื่องจักสาน ทำไต้ ใบแห้งใช้มุงหลังคา ฝากั้นห้อง คลุมผิวดิน ปลูกผัก ปลูกสตรอเบอรี่ ใบสด ใช้ห่อของแทนถุงพลาสติก http://pineapple-eyes.snru.ac.th/animal/pupan/?q=node/147

  10. ขั้นตอนการเก็บ 1.)ออกไปเก็บใบตองตึงที่ร่วงหล่นตามธรรมชาติช่วงเช้าๆในฤดูหนาว เพราะว่าใบไม้จะร่วงเยอะในฤดูนี้ซึ่งเก็บในตอนเช้าจะทำให้ใบตองตึงไม่กรอบและฉีกขาดง่าย2).จากนั้นจึงนำมาตัดก้านใบ-แช่น้ำเรียงทับไว้ในน้ำ

  11. 3).เตรียมไม้ไผ่จักเป็นตอกหนาประมาณ 3-4 ม ม.ยาวประมาณ 2-3 ม.ไม่จำกัดจำนวน(ประมาณใบที่ตองตึงที่ เก็บมา)ใช้เป็นก้าน

  12. 4).จักตอกเป็นแผ่น หนาประมาณ 1.5-2 ม ม. ยาว 35 ชม.เพื่อใช้ในการเย็บเข้ากับก้านที่เตรียมไว้

  13. ตอกยาว 35 cm. 5).นำแผ่นใบตองตึงที่เตรียมไว้มาเย็บเข้ากับก้าน ไม้ไผ่ด้วยตอกไม้ไผ่ เรียกว่า “ตับพลวง” ก้านไม้ไผ่หนา 3-4 ม ม.

  14. 6).เก็บมุม แล้วก็จะได้ใบตองตึงมุงหลังคาหนึ่งก้าน 7).ทำเช่นนี้ไปเรื่อยจนกว่าจะเต็มหลังคา

  15. 8).อีกแบบ ส่วนใหญ่จะใช้ทำฝาผนัง

  16. CASE STUDY ภูใจใส เชียงราย ชานไม้ชายเขา http://www.212cafe.com/boardvip/view.php?user=chomthai&id=304

  17. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=yesido&month=01-06-2009&group=1&gblog=61http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=yesido&month=01-06-2009&group=1&gblog=61

  18. แหล่งที่มา • http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.khonthai.com/Vitithai/pic/phome33.jpg&imgrefurl=http://dek-d.com/board/view.php%3Fid%3D887595&usg=__Hl0x4a98jGI3TOfgcDFP7EJytYU=&h=118&w=180&sz=7&hl=th&start=55&um=1&tbnid=DX3BO5CLXDMB_M:&tbnh=66&tbnw=101&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B6%25E0%25B8%2587%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%26ndsp%3D18%26hl%3Dth%26rlz%3D1W1GTKR_en%26sa%3DN%26start%3D54%26um%3D1 • http://www.212cafe.com/boardvip/view.php?user=chomthai&id=304 • http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=yesido&month=01-06-2009&group=1&gblog=61 NARESUAN UNIVERSITY 701213 SMALL-SCALE PUBLIC BUILDING DESIGN STUDIO By Mr. AphisitMuenapri 51710403

  19. THE END

More Related