1 / 81

12. โครงสร้างอะตอมในทรรศนะปัจจุบัน

12. โครงสร้างอะตอมในทรรศนะปัจจุบัน. ลักษณะของอะตอมที่ยอมรับกันในปัจจุบัน นี้ เป็นผลงานของ ชโรดิงเจอร ์ (Erwin Schro- dinger) ซึ่งใช้วิธีของ wave mechanic เป็นผู้ เสนอสมการคลื่นใน 3 มิติ โดยอาศัย ผลงาน 2 อย่าง ซึ่งเป็นพื้นฐานของ wave mechanic คือ.

manelin
Download Presentation

12. โครงสร้างอะตอมในทรรศนะปัจจุบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 12. โครงสร้างอะตอมในทรรศนะปัจจุบัน ลักษณะของอะตอมที่ยอมรับกันในปัจจุบัน นี้ เป็นผลงานของชโรดิงเจอร์(Erwin Schro- dinger) ซึ่งใช้วิธีของ wave mechanic เป็นผู้ เสนอสมการคลื่นใน 3 มิติโดยอาศัยผลงาน 2 อย่างซึ่งเป็นพื้นฐานของ wave mechanic คือ

  2. 1. Particle Wave Duality ของ Louis de Broglie 2. หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก (Uncertainty Principle)

  3. l = ในปี ค.ศ. 1924 เดอบรอยล์ เสนอว่า อนุภาคหรือวัตถุที่เคลื่อนที่ทุกชนิดจะมีสมบัติเป็นคลื่นโดยความยาวคลื่นจะแปรผกผันกับโมเมนตัม (มวล x ความเร็ว)

  4. จากสูตรของเดอบรอยล์ จงคำนวณความยาว คลื่นของลูกเทนนิส ที่มีมวล 200 กรัม เคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ข้ามคอร์ต กำหนดให้ h = 6.626 x 10-34 จูล.วินาที

  5. l = 10-34 เมตร สำหรับวัตถุขนาดใหญ่ ความยาวคลื่นจะสั้นมาก ดังนั้นเราไม่สามารถมองเห็นลูกบอลเคลื่อนที่เป็น คลื่นข้ามคอร์ตได้ ทั้ง ๆที่มันมีลักษณะของคลื่นด้วย

  6. l = 2.2 x 10-5 เมตร แต่ถ้าอนุภาคมีขนาดเล็ก เช่น อิเล็กตรอนซึ่งมีมวล 10-30 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที จะได้ ซึ่งมีความยาวมากพอที่จะเห็นลักษณะ คลื่นของอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ ซึ่งสามารถ วัดได้จากการทดลอง

  7. สรุปสมมุติฐานของเดอบรอยล์สรุปสมมุติฐานของเดอบรอยล์ 1. อนุภาคอิเล็กตรอนมีสมบัติความเป็น คลื่นแทรกอยู่ด้วย 2. โมเมนตัมของวัตถุใด ๆ ที่เคลื่อนที่จะ เป็นสัดส่วนกลับกับความยาวคลื่น l = h/mv

  8. 13. สมมุติฐานของเดอบรอยล์ เกี่ยวกับ particle wave duality “ สสารหรือวัตถุทั้งหมด นอกจากเป็นอนุภาค แล้ว ยังมีสมบัติของคลื่นด้วย” โดยเขาได้พิจารณาเกี่ยวกับสมการของพลัง งานและมวลสารของไอน์สไตน์ คือ กับสมการ พลังงานของโฟตอนของแพลงค์คือ E = hu ทั้งสองสมการน่าจะมีความสัมพันธ์กัน โดย เฉพาะเมื่อสสารมีการเคลื่อนที่

  9. mc2 = hu mc = เมื่อc = ul , mul = l = ดังนั้น

  10. ถ้าพิจารณาเป็นความเร็วของอิเล็กตรอน ซึ่งเท่ากับ V h l = mv เรียกสมการคลื่นของ เดอบรอยล์

  11. จะเห็นว่าถ้าวัตถุมีมวลมากเคลื่อนที่ ค่าความยาวคลื่นจะน้อยมากไม่สามารถตรวจวัดได้ แต่ถ้าวัตถุใดที่มีมวลน้อยมาก เช่น อิเล็กตรอน ค่าความยาวคลื่นจะมากจนสามารถตรวจวัดได้

  12. l = 1.10 x 10-23 เมตร ตัวอย่างค่าความยาวคลื่นของเดอบรอยล์ ของ ก. กระสุน หนัก 2 x 10-3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว 300 เมตร/วินาที ข. อิเล็กตรอนหนัก 9 x 10-31 กิโลกรัม เคลื่อน ที่ด้วยความเร็ว 6 x 105 เมตร/วินาที l = 1.10 x 10-9 เมตร = 11 A

  13. สรุปทุกอย่างในธรรมชาติมีสมบัติเป็นทั้งสรุปทุกอย่างในธรรมชาติมีสมบัติเป็นทั้ง คลื่นและอนุภาค จากการทดลองฉายลำแสงอิเล็กตรอน ไปตก กระทบผิวของโลหะเงินหรือนิกเกิล จะแสดง ปรากฎการณ์การเลี้ยวเบนบนแผ่นฟิล์ม เกิด เป็นวงกลมสว่างหลายวงซ้อนกัน เช่นเดียว กับผลที่ได้เมื่อฉายรังสีเอ็กซ์ ลงบนผลึกโลหะ แสดงว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นคลื่นเหมือน กับคลื่นแสงเอ็กซเรย์

  14. อิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสได้ ในลักษณะ ที่มีจำนวนคลื่นเป็นเลขจำนวนเต็ม ถ้าให้ r เป็นรัศมีอะตอมของธาตุไฮโดรเจน n เป็นเลขจำนวนเต็มใดๆ และ l เป็นความยาว คลื่นของอิเล็กตรอน ที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส ของธาตุไฮโดรเจนจะได้ 2 pr = nl l =

  15. l = = mvr = จากสมการคลื่นของ เดอ บรอยล์ สมการนี้สอดคล้องกับสมมุติฐานของโบร์ ซึ่งพิจารณาอิเล็กตรอนเป็นโฟตอน

  16. แสดงว่าอิเล็กตรอนมีลักษณะเป็นได้ ทั้ง คลื่นและอนุภาค และคลื่นอิเล็กตรอนจะ โคจรรอบนิวเคลียสเป็นจำนวนเต็มคลื่นเสมอ จากความคิดที่ว่า อิเล็กตรอนมีลักษณะการเคลื่อนที่เป็นคลื่น ทำให้ไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ ในปี ค.ศ. 1928 ได้นำแนวคิดนี้มาพิจารณาแล้วเสนอหลักความไม่แน่นอนขึ้นมาว่า……….

  17. Dx. Dp = h ถ้า Dx คือความไม่แน่นอนในการบอก ตำแหน่งของอนุภาค Dp คือความไม่แน่นอนในการระบุค่า โมเมนตัมของอนุภาค หลักความไม่แน่นอน ของไฮเซนเบิร์ก คือ

  18. เมื่อ h = ค่าคงที่ของแพลงค์ หมายความว่า ถ้าความไม่แน่นอนสำหรับค่าโมเมนตัม, Dp = 0 นั่นคือ ถ้าเราทราบค่าที่แน่นอนของโมเมนตัม ค่า Dx จะเท่ากับ h/Dp = h/0 = a แสดงว่าความไม่แน่นอนในการบอกตำแหน่งจะสูงมาก

  19. ในทางตรงข้าม ถ้าความไม่แน่นอนในการบอกตำแหน่งต่ำ (Dx มีค่าต่ำ) นั่นคือ ถ้าเราทราบตำแหน่งด้วย ความแน่นอนมากขึ้นความไม่แน่นอนในการบอกค่าโมเมนตัมจะสูง

  20. กล่าวว่า ยิ่งเรารู้แน่นอนมากขึ้นว่าอนุภาคกำลังเคลื่อนที่อย่างไร ยิ่งทำให้เราทราบเกี่ยวกับตำแหน่งของมันได้น้อยลง จากผลความคิดนี้ นำมาซึ่งหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก “ HEISENBERG’S UNCERTAINTY PRINCIPLE ”.

  21. เป็นไปไม่ได้ที่จะระบุทั้งตำแหน่ง และค่าโมเมนตัมของอนุภาคพร้อม ๆ กัน ด้วยความถูกต้องแน่นอน ”

  22. 14. หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก (Uncertainty Principle) “ เป็นไปไม่ได้ที่จะวัดค่าความเร็ว (หรือโมเมนตัม) และตำแหน่ง ของอนุภาคพร้อมๆ กัน ด้วย ความถูกต้องแน่นอน . ”

  23. หลักความไม่แน่นอนนี้ เขียนเป็น สมการทางคณิตศาสตร์ได้ Dpx. Dx > ค่า Dpx. Dx เรียกว่า ค่าผลคูณของความ คลาดเคลื่อนของอิเล็กตรอน

  24. Dx= ความไม่แน่นอนในการวัดตำแหน่ง ในแกน x = ความคลาดเคลื่อนของระยะทาง ตามแกน x, เมตร DPx= ความคลาดเคลื่อนสำหรับค่าโมเมน ตัมเชิงเส้นในทิศทาง x

  25. DV. Dx > DV. Dx = ผลคูณของความคลาดเคลื่อน (uncertainty product)

  26. เมื่อ p = mv, h = 6.626 x 10-34 จูล/วินาที DV = ความคลาดเคลื่อนของความเร็ว, เมตร/วินาที p =3.14 m = มวล(ก.ก.) Dx = เมตร

  27. ถ้า e-, มวล = 10-27 กรัม m = มวล (กรัม) h=6.626x10-27 เอิกซ์.วินาที m = ความเร็ว (ซม./วินาที) Dx = ซม. p = 3.14

  28. ถ้าอนุภาคมีขนาดเล็กมาก เช่น อิเล็กตรอน ในการหาตำแหน่งต้องใช้ลำแสงที่มีความยาว คลื่นสั้นพอ ๆ กับขนาดของอิเล็กตรอน จึงจะ เห็นการกระจายของแสงเมื่อชนอิเล็กตรอน แต่จะถ่ายเทโมเมนตัมให้แก่ อิเล็กตรอน ทำ ให้โมเมนตัมหรือความเร็วของอิเล็กตรอน เปลี่ยนไปมาก

  29. ตรงกันข้าม ถ้าไม่ต้องการให้โมเมนตัม หรือความเร็วของอิเล็กตรอนเปลี่ยน หรือ เปลี่ยนน้อยมาก ๆ ต้องใช้ลำแสงที่มีความ ยาวคลื่นยาว (พลังงานต่ำ) แต่จะหาตำแหน่ง ของอิเล็กตรอนไม่ได้ หรือความถูกต้องใน การหาตำแหน่งจะต่ำมาก ๆ

  30. จากหลักความไม่แน่นอนนี้ ทำให้ทราบว่า เราไม่สามารถหาตำแหน่งที่แน่นอน ของอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียสได้ง่ายๆ ดังนั้นในการ บอกตำแหน่งของอิเล็กตรอน จึง บ่งเป็นค่าความน่าจะเป็น หรือ โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ณ ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง

  31. ถ้าเราพิจารณาอิเล็กตรอนในลักษณะที่เป็นถ้าเราพิจารณาอิเล็กตรอนในลักษณะที่เป็น คลื่น แล้วนำมาหาค่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ในอะตอมธาตุไฮโดรเจนโดย amplitudeของ คลื่นในบริเวณใด บ่งถึงโอกาสที่จะพบอิเล็ก- ตรอนในบริเวณนั้น

  32. ในการอธิบายลักษณะของคลื่นอิเล็กตรอนนั้น เราอาศัยสมการคลื่นบอกลักษณะการเคลื่อนที่ของ จุดแสดงได้เป็น y = Asin : สมการคลื่น A = ค่าคงที่ซึ่งเป็นแอมพลิจูดของคลื่น l = ความยาวคลื่น x = เป็นรูปร่างของคลื่นหรือช่วงการกวัด แกว่งของคลื่นไกลออกไปตามแนว x

  33. เพื่อความเข้าใจถ้าเทียบกับสมการอื่นๆ ซึ่งบอก ถึงรูปร่างของเรขาคณิต เช่น y = x2+c เป็นรูปโพลา- โบลา หรือ y = เป็นสมการของวงกลม ฉะนั้น ถ้าเราแก้สมการคลื่นแต่ละสมการ ใน 3 มิติ จะได้รูปร่างทางเรขาคณิตของบริเวณ ที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสใน 3 มิติ

  34. y 2 2 d y Sin p = O ( ) + E - V 2 2 d x h เรียกสมการคลื่นของชโรดิงเจอร์ซึ่งบอกถึงรูปร่างของคลื่นและพลังงานของอิเล็กตรอนในภาวะปกติใน 1 มิติโดยไม่มีพลังงานจากภายนอกมากระทำและที่เวลาคงที่

  35. \ สมการคลื่นใน 3 มิติเขียนได้เป็น y y y y 2 2 2 2 d d d 8 m p = O + + + ( E - V ) 2 2 2 2 d x d y d z h หมายความว่า ลักษณะของคลื่นจะเปลี่ยนไป เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่า E หรือ V เนื่องจากเราสนใจค่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ณ จุดหนึ่งๆ ซึ่งมีค่าเท่ากับ y2 (คือ yy* นั่นเอง) หรือเรียกค่า probability density

  36. ซึ่งเป็นความหนาแน่นของจุดรอบอะตอม แสดงว่า ค่าความเป็นไปได้ในการพบอิเล็กตรอนจะมีความหนา แน่นในบริเวณหนึ่งๆ และมีรูปร่างของบริเวณที่แน่นอน รอบนิวเคลียส เรียก model นี้ว่า “electron orbital” ซึ่งแทนด้วยสมการคลื่นเป็นสมการทางคณิตศาสตร์

  37. ในการหาค่าความเป็นไปได้นั้น หาจากการคำนวณ ภายในปริมาตรเล็ก ๆ รอบนิวเคลียสซึ่งแสดงได้ด้วย สมการทางคณิตศาสตร์ การแก้สมการชโรดิงเจอร์ เพื่อหาค่า y ,Eและ yy* โดยแปลงสมการคลื่นให้เป็นโพลาร์โคออร์ดิเนต r(x,y,z) r q o f y x z

  38. สมการชโรดิงเจอร์ในระบบโพลาร์โคออร์ดิเนต หรือ spherical coordinate เขียนย่อได้เป็น y (r, q, f) = R(r) q (q) F(f) หมายความว่าสมการชโรดิงเจอร์นี้ขึ้นกับค่าr, q และ f ที่เป็นอิสระแก่กันเป็นตัวแปร

  39. R(r) เรียกว่า ฟังก์ชันการกระจายในแนวรัศมี (radial part) R2(r) เป็นค่าความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะพบ อิเล็กตรอนตามแนวรัศมี

  40. ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเป็นไปได้หรือโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนตามระยะทาง r ห่างจากนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน ดังรูป

  41. n = 1 l = 0 n = 2 l = 0 n = 3 l = 0 r2 R2(r) 1s n = 2 l = 1 n = 3 l = 1 0 0.52 1 n = 3 l = 2

  42. ทำนองเดียวกันถ้าพิจารณาค่า q(q) F(f) ซึ่งเรียกว่าผลรวมการกระจายของค่าความเป็นไปได้หรือโอกาสในการพบอิเล็กตรอนเชิงมุม (angular part) จะได้ รูปร่างของการกระจายของค่าความเป็นไปได้ ที่จะพบอิเล็กตรอนใน 3 มิติ ซึ่งเรียกว่าออร์บิทัล : เป็นรูปร่างของบริเวณรอบอะตอมในสามมิติ ที่มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน

  43. z x s-ออร์บิทัล y z z z x x x y y y p-ออร์บิทัล

  44. z x y dyz dxy dxz รูปของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนแสดงการเคลื่อนที่ของอิเล็คตรอนรอบนิวเคลียส และ boundary surface ของออร์บิทัลชนิดต่างๆ แสดงดังรูป

  45. ความแตกต่างระหว่างออร์บิต และออร์บิทัล ออร์บิทัล ออร์บิต 1. อิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส เป็นออร์บิต (วงกลม 2 มิติ) เสนอโดยโบร์ 1. เป็นรูปร่าง 3 มิติของบริเวณที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากที่สุด

  46. ออร์บิทัล ออร์บิต 2. มีค่าไม่แน่นอน แต่เป็นค่าความเป็นไปได้ที่จะพบอิเล็กตรอน 3. เป็นไปตามหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก 2. แต่ละวงมีระยะห่าง จากนิวเคลียสที่แน่นอน 3. ไม่เป็นไปตามหลัก ความไม่แน่นอนของ ไฮเซนเบิร์ก

  47. ความหนาแน่นของจุดเล็ก ๆ นี้ เรียกว่า Probability density ถ้าความหนาแน่นของจุดมาก แสดงว่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนบริเวณนั้นก็สูงด้วย จากรูปความหนาแน่นของจุดจะมากเมื่ออยู่ใกล้นิวเคลียส ห่างออกไปจะลดลงจริง ๆ แล้วอะตอมไม่มีขอบเขตของรัศมีที่แน่นอน

  48. แต่พอที่จะแบ่งขอบเขตได้ โดยเมื่อถึงระยะหนึ่งค่า probability density จะคงที่ ซึ่งภายในขอบเขตนี้จะมีความหนาแน่นของจุด(probability density) คงที่มีค่าอยู่ในช่วง 90-99% (boundary surface of constant probability density) +

  49. สมการชโรดิงเจอร์นำไปประยุกต์ใช้กับอะตอมไฮโดรเจนเป็นอะตอมแรก แล้วหาสมบัติต่างๆ ของอิเล็กตรอนโดยแก้สมการคลื่นนี้ด้วยคณิตศาสตร์ชั้นสูงได้เลขควอนตัม ออกมาโดยตรง จากกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งเลข ควอนตัมบ่งถึงสมบัติทั่วไปและระดับพลังงานทางอิเล็กตรอน

  50. ฟังก์ชันคลื่นที่แก้ได้แต่ละฟังก์ชัน เรียกว่า atomic orbital ซึ่งออร์บิทัลเหล่านี้บ่งได้ด้วยเลขควอนตัม 3 ชนิด (เป็นเลขควอนตัมที่ได้จากการแก้สมการคลื่นของชโรดิงเจอร์) ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองเดียวกับสเปกตรัม

More Related