1 / 105

เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ

เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ. เรื่อง แหล่งทุนวิจัยสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยและบทสรุปการจัดทำข้อเสนอ การวิจัยในเชิงบูรณาการสำหรับผู้บริหาร : ฉบับกระเป๋า ในโครงการประชุมชี้แจงแนวทางการขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน เรื่อง “บทสรุปการจัดทำข้อเสนอการวิจัยงบประมาณแผ่นดินฉบับกระเป๋า”

malise
Download Presentation

เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษเอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ เรื่อง แหล่งทุนวิจัยสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยและบทสรุปการจัดทำข้อเสนอ การวิจัยในเชิงบูรณาการสำหรับผู้บริหาร : ฉบับกระเป๋า ในโครงการประชุมชี้แจงแนวทางการขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน เรื่อง “บทสรุปการจัดทำข้อเสนอการวิจัยงบประมาณแผ่นดินฉบับกระเป๋า” ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 24 พฤษภาคม 2548 ณ ห้องประชุม 8228 อาคารบริภัณฑ์ มสธ. โดย นายนที เนียมศรีจันทร์ ผู้อำนวยการกองวิเคราะห์โครงการและประเมินผล สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 13 พฤษภาคม 2548

  2. โหมโรง

  3. รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ 1. รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ : 12 สาขาวิชาการ  เงินรางวัล 300,000 บาท  เหรียญนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ  ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติคุณ

  4. 2. รางวัลผลงานวิจัย : 12 สาขาวิชาการ  รางวัลดีเยี่ยม (1 รางวัล) 200,000 บาท  รางวัลชมเชย (2 รางวัล) รางวัลละ 50,000 บาท 3. รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก : 12 สาขาวิชาการ  รางวัลดีเยี่ยม (1 รางวัล) 80,000 บาท  รางวัลชมเชย (2 รางวัล) รางวัลละ 20,000 บาท

  5. 4. รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น : 4 ด้าน  รางวัลดีเยี่ยม (1 รางวัล) 500,000 บาท  รางวัลชมเชย (2 รางวัล) รางวัลละ 50,000 บาท 5. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม  โทรศัพท์หมายเลข : (02) 579-2288, (02) 561-2445 ต่อ 530  E-mail address Webmaster@email.nrct.go.th

  6. รายชื่อกลุ่มเรื่อง (Cluster) ของแผนงานวิจัยในเชิงบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 • Cluster A : สมุนไพร • Cluster B : ยา • Cluster C : เทคโนโลยีและการแพทย์ • Cluster D : นาโนเทคโนโลยี • Cluster E : ความร่วมมือระหว่างประเทศ • Cluster F : สังคมและการศึกษา

  7. Cluster G : Branding • Cluster H : อาหาร (คนและสัตว์) และเกษตรอินทรีย์ • Cluster I : ปัญหาชายแดนภาคใต้ • Cluster J : สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • Cluster K : เศรษฐกิจ และการพาณิชย์ • Cluster L : พลังงานทดแทนและเทคโนโลยี • Cluster M : สาธารณสุข • Cluster N : ความมั่นคงและระบบยุติธรรม        

  8. คำแถลงนโยบายโดยสรุปของรัฐบาลคำแถลงนโยบายโดยสรุปของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี สมัยที่สอง ต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2548 • นโยบายขจัดความยากจน • นโยบายพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ • นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้

  9. นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • นโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • นโยบายพัฒนากฎหมาย และส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • นโยบายส่งเสริมประชาธิปไตย และกระบวนการประชาสังคม

  10. นโยบายรักษาความมั่นคงนโยบายรักษาความมั่นคง • นโยบายตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ

  11. สรุปโครงสร้างประเด็นยุทธศาสตร์สรุปโครงสร้างประเด็นยุทธศาสตร์ ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขจัดความยากจน ก. ระดับประเทศ ข. ระดับชุมชน ค. ระดับบุคคล

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ ก. การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาคนให้มีความ รู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม เตรียมความพร้อมให้สอดคล้องกับ การพัฒนาและการแข่งขันของประเทศ ข. การอนุรักษ์ สืบทอดประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงาม และพัฒนา ภูมิปัญญาให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ค. การเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่างครบวงจรและมี คุณภาพมาตรฐาน ง. การเสริมสร้างความมั่นคงของชีวิตและสังคม จ. การเตรียมความพร้อมแก่สังคมเพื่อให้ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากร ที่มีคุณค่าของระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ฉ. การพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองที่แข็งแรงและน่าอยู่

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ ก. การปรับโครงสร้างภาคเกษตร ข. การปรับโครงสร้างภาคอุตสาหกรรม ค. การปรับโครงสร้างการท่องเที่ยว การบริการ และการค้า ง. การบริหารการเงินการคลัง จ. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ฉ. การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ช. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ซ. การพัฒนารัฐวิสาหกิจ ฌ. การพัฒนาขีดความสามารถในการดำเนินยุทธศาสตร์ชาติ

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก. การสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์เพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน ข. การคุ้มครองและใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่าง ยั่งยืนและเป็นธรรม ค. การฟื้นฟูทรัพยากรดินและใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับสภาพ พื้นที่ ง. การบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ จ. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้การ มีส่วนร่วมของเอกชนและชุมชนท้องถิ่น ฉ. การควบคุมมลพิษจากขยะ น้ำเสีย ฝุ่นละออง ก๊าซ กลิ่น และเสียง

  15. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ก. การดำเนินนโยบายต่างประเทศเชิงรุก ข. การส่งเสริมความสัมพันธ์กับนานาประเทศ ค. การส่งเสริมความร่วมมือภายใต้กรอบพหุภาคีและการ สร้างบทบาทไทยในเวทีโลก ง. ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ จ. การทูตเพื่อประชาชน

  16. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ก. การปรับปรุงกฎหมาย ข. การปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม ค. การพัฒนาระบบราชการ ง. การป้องกันและปราบปรามทุจริต จ. การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในภาคเอกชนและสังคม

  17. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม ก. การพัฒนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและสร้าง ความเข้มแข็งให้กับกระบวนการประชาสังคม ข. การส่งเสริมและพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชนให้เป็นที่ ยอมรับในระดับสากล ค. การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การรักษาความมั่นคงของรัฐ ก. การพิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ข. การป้องกันประเทศ ค. การรักษาความมั่นคงของรัฐ

  19. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9 การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตโลก  เพื่อให้รัฐบาลมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาและบริหาร เศรษฐกิจสังคมและการเมืองอย่างเป็นระบบ และไม่ก่อให้เกิด ผลกระทบที่รุนแรงต่อเศรษฐกิจ และวิถีชีวิตสังคมไทย  ภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่สามารถจะคาดการณ์ล่วงหน้า อันเกิด จากภัยธรรมชาติ การระบาดของโรคอุบัติใหม่ การเปลี่ยน แปลงของเศรษฐกิจโลก และความมั่นคงระหว่างประเทศ  โดยบูรณาการทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถดำเนิน การในกรณีฉุกเฉิน จำเป็น หรือเร่งด่วนได้อย่างทันการณ์และ มีประสิทธิภาพ

  20. I. คำสำคัญที่เกี่ยวกับการประเมินผล การวิจัยของหน่วยงานภาครัฐ อย่างเป็นระบบและครบวงจร ตามมติคณะรัฐมนตรี

  21. คำสำคัญที่เกี่ยวกับการประเมินผลการวิจัยคำสำคัญที่เกี่ยวกับการประเมินผลการวิจัย ของหน่วยงานภาครัฐอย่างเป็นระบบและครบวงจร ตามมติคณะรัฐมนตรี • การประเมินผล • การวิจัย • หน่วยงานภาครัฐ • ระบบ • ครบวงจร • มติคณะรัฐมนตรี

  22. RESEARCH R = Recruitment & Relationships E = Education & Efficiency S = Science & Stimulation E = Evaluation & Environment A = Aim & Attitude R = Result C = Curiosity H = Horizon Source: Pan Pacific Science Congress (1961)

  23. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2499 1. การวิจัยของกรมกองต่าง ๆ ของแต่ละกระทรวงที่กระทำอยู่ ในขณะนี้ 1.1 ได้ดำเนินการกระจัดกระจายกันอยู่โดยต่างฝ่ายต่างทำ 1.2 บางเรื่องก็อาจทำซ้ำกัน 1.3 บางเรื่องก็ทำเสร็จสิ้นไปแล้วในต่างประเทศ

  24. 2. เพื่อเป็นการประหยัดกำลังคน และกำลังเงิน 2.1 ให้สภาวิจัยแห่งชาติเป็นผู้กำหนดเรื่องที่จะทำการวิจัย 2.2 ทำการควบคุมดูแลโดยใกล้ชิด 2.3 สภาวิจัยแห่งชาติต้องทราบเสียก่อนว่า การวิจัยที่กรม กองต่าง ๆ ได้ทำเสร็จไปแล้วนั้นมีเรื่องอะไรบ้าง และ ที่กำลังทำอยู่มีอะไรบ้าง 3. คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เพื่อรวบรวมการวิจัยดังกล่าวข้างต้น ส่งไปยังสำนักงาน เลขาธิการสภาวิจัยแห่งชาติต่อไป

  25. มติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือที่ น.ว.220/249 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2499 และหนังสือที่ น.ว.58/2503 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2503  ให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ รวบรวมการวิจัย ส่งไปยังสำนักงานเลขาธิการสภาวิจัยแห่งชาติ และให้สภาวิจัยแห่งชาติมีโอกาสได้พิจารณาโครงการวิจัย ที่ต้องใช้เงินรัฐบาลและเสนอความเห็นต่อสำนักงบประมาณ เพื่อประกอบการพิจารณาในการตั้งงบประมาณ

  26. มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2503 1. วิธีดำเนินงานวิจัยของส่วนราชการต่าง ๆ ใน อดีตและปัจจุบัน 1.1 ไม่มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด 1.2 ต่างฝ่ายต่างวิจัยกันเป็นเอกเทศ

  27. 1.3 มีผลทำให้ : • เกิดการวิจัยเรื่องซ้ำกัน หรือที่ได้มีผู้ทำ • เสร็จสิ้นไปแล้ว • ต้องใช้สถานที่สำหรับทำการวิจัยมากแห่ง • ต้องเพิ่มอุปกรณ์เครื่องมือ และผลที่ได้อาจ • จะไม่สมบูรณ์

  28. 2. เพื่อเป็นการประหยัดกำลังคนและกำลังเงิน ค.ร.ม. จึงมีมติในเรื่องดังกล่าว 2.1 ให้สภาวิจัยแห่งชาติมีโอกาสได้พิจารณา โครงการวิจัยที่ต้องใช้เงินรัฐบาล 2.2 เสนอความเห็นต่อ สงป. เพื่อประกอบการ พิจารณาในการตั้ง งปม.

  29. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2พฤษภาคม 2504 ให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ รวบรวมผลของ งานวิจัยส่งไปยังสำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ ทั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ในการป้องกันการวิจัยซ้ำกัน ซึ่ง ทำให้หมดเปลืองกำลังคน และกำลังทรัพย์โดยไม่ จำเป็น

  30. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2517 ให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ รวบรวมผล ของงานวิจัยส่งไปใหม่ให้ วช. นอกเหนือจาก ที่มหาวิทยาลัยเท่านั้นที่ได้ส่งผลของงานวิจัย (วิทยานิพนธ์) ของนักศึกษาชั้นบัณฑิตไปให้ วช.

  31. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2518 ให้กระทรวง ทบวง กรม และรัฐวิสาหกิจ ต่าง ๆ จัดส่งรายงานผลการวิจัย ซึ่งจัดทำ เสร็จแล้วไปให้ วช. เป็นประจำตลอดไป

  32. มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2520 1. ให้ส่วนราชการและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เสนอ โครงการวิจัยให้ วช. เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ ในโครงการที่จะทำการวิจัยก่อน 2. ให้ส่วนราชการและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ดังกล่าว แจ้งผลการวิจัยแต่ละปีให้ วช. ทราบด้วย

  33. มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2521 1. การวางนโยบายและแผนวิจัยส่วนรวม • สศช. กับ วช. ร่วมกันจัดทำนโยบายและแผนวิจัย • (Research Policy and Plan) ส่วนรวมเสนอ ค.ร.ม. • สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง • ชาติ • กำหนดวงเงินงบประมาณประจำปี

  34. 2. การพิจารณาแผนงานวิจัยและโครงการวิจัย • เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย (Research Policy) • และแผนวิจัย (Research Plan) ส่วนรวม • เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ • เพื่อป้องกันการซ้ำซ้อน • เพื่อการประสานงานและประสานประโยชน์ร่วมกัน • เพื่อประหยัดงบประมาณแผ่นดินที่มีอยู่จำกัด • เพื่อการติดตามผลแผนงานวิจัย (Research Program) • และโครงการวิจัย (Research Project)

  35. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2545 1. ให้ วช. เป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบ“แผนงบประมาณการวิจัย ของประเทศ”โดยมีบทบาทและหน้าที่ในการจัดทำแผนปฏิบัติงาน และแผนงบประมาณการวิจัยของประเทศในเชิงบูรณาการโดยการ กำหนดผลผลิต งาน/โครงการ และกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานสนับ สนุนเพื่อจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547ในภาพรวม 2. ให้ วช. เป็นหน่วยงานหลักมีบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการติดตามและประเมินผลความสำเร็จของแผนงบประมาณ การวิจัยของประเทศในเชิงบูรณาการที่เป็นภาพรวมดังกล่าวนั้น

  36. II. การวิจัย อย่างเป็นระบบและครบวงจร

  37. แผนภาพการวิจัยอย่างเป็นระบบและครบวงจรแผนภาพการวิจัยอย่างเป็นระบบและครบวงจร Systematic and Complete Set of Research Work Research of Research 1 Research Standard 2 Pre-audit 3 Identical Twins Research Utilization Ongoing-audit 6 4 Post-audit 5

  38. III. เป้าประสงค์การประเมินผล ที่เป็นภาพสะท้อนผลสำเร็จของการวิจัย ในเชิงคุณภาพกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 อย่างเป็นรูปธรรม

  39. เป้าประสงค์การประเมินผลเป้าประสงค์การประเมินผล EVALUATION GOAL อดีต•ปัจจุบัน•อนาคต 1. มูลค่า (WORTH) 2. คุณงามความดี (MERIT) •ปัจจุบัน•อนาคต 1. สิ่งที่ได้มาจากการเรียนรู้ การปฏิบัติงาน หรือจาก การวิจัย (ACQUIRING) 2. สารสนเทศ (INFORMATION)

  40. ACQUIRING ACQUIRING OUTPUTS CITIZEN CENTER OUTCOMES IMPACTS

  41. INFORMATION DATA INFORMATION KNOWLEDGE BASIC KNOWLEDGE PRE-AUDIT (APPRAISAL) ADVANCED KNOWLEDGE COMPREHENSION ONGOING-AUDIT (MONITORING/ASSESSMENT) APPLICATION WISDOM EVALUATION ANALYSIS SYNTHESIS

  42. ตารางที่ 1 ภาพสะท้อนผลสำเร็จของการวิจัยในเชิงคุณภาพกับประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 อย่างเป็นรูปธรรม 1 2 3 4 5 6 7 8 9

  43. IV. การประเมินผล การจัดทำข้อเสนอการวิจัย ในเชิงบูรณาการก่อนดำเนินการวิจัย Pre-audit Research Proposal Formulation and Evaluation

  44. วัตถุประสงค์ของการประเมินผลวัตถุประสงค์ของการประเมินผล การจัดทำข้อเสนอการวิจัยในเชิงบูรณาการ 1. เพื่อทำการวิจัยเป็นทีมวิจัย 1.1 ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนที่เกี่ยวข้อง 1.2 ภาครัฐต้องครอบคลุม 2 กระทรวงขึ้นไป 1.3 สายอาชีพ 1.4 ปัญหาแบบองค์รวม 1.5 นักวิจัยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง 1.6 วิจัยแบบพหุสาขาวิชาการ และเอกสาขาวิชาการ

  45. 1.7 ขจัดสาเหตุของปัญหาที่เป็นแบบองค์รวม 1.8 มีเป้าหมายและวัตถุประสงค์หลักเดียวกัน 2. เพื่อบูรณาการการวิจัยระดับต่าง ๆ ให้เป็นแผนงานวิจัย 2.1 ทำการวิจัยระดับต่าง ๆ ที่ธรรมชาติ มีความแตกต่างกัน 2.2 ทำการเชื่อมโยงการวิจัยระดับแผนงานวิจัยย่อย โครงการ วิจัยและหรือโครงการวิจัยย่อย ให้เป็นแผนงานวิจัยหรือ ชุดโครงการ 2.3 ทำการเน้นให้เห็นอย่างชัดเจนถึงการมีเป้าหมายและ วัตถุประสงค์หลักเดียวกัน

  46. 3. เพื่อทำการวิจัยที่เป็นมิติต่าง ๆ โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง 3.1 ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการวิจัย  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  ผู้ใช้ 3.2 มิติประกอบการวิจัย มิติการปฏิบัติภารกิจตามอำนาจหน้าที่ในระดับกลุ่ม จังหวัดและจังหวัด (Functional-based Approach)  มิติพื้นที่ (Area-based Approach) รวมถึงกลไกการทำงานข้ามหน่วยงานหรือพื้นที่  มิติตามระเบียบวาระงานพิเศษ (Agenda-based Approach)

  47. 3.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 รวม 4 ปี จำนวน 9 ประการ 3.4 นโยบายเร่งด่วนหรือนโยบายสำคัญของรัฐบาล 3.5 การใช้จ่ายงบประมาณในการวิจัย  การจัดสรรทรัพยากรการวิจัย  การใช้จ่ายงบประมาณการวิจัย โดยคำนึงถึงความประหยัด โปร่งใส มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และมีความคุ้มค่าต่อ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ  ผลสำเร็จของการวิจัยเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนโดย รวมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรม

  48. 4. เพื่อเป็นการวิจัยที่มีผู้รับผิดชอบชัดเจน 4.1 ผู้รับผิดชอบหลัก 4.2 ผู้รับผิดชอบรอง 4.3 เครือข่าย 4.4 หุ้นส่วน 4.5 กลุ่มเรื่อง 4.6 สมาคม

  49. แหล่งที่มาของเงินงบประมาณแหล่งที่มาของเงินงบประมาณ ที่ใช้ในการวิจัยของประเทศไทย • ภาครัฐ • 1.1 เงินงบประมาณ •  วช. เป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบ “แผนงบประมาณการวิจัยของประเทศ” • โดยมีบทบาทและหน้าที่ในการจัดทำแผนปฏิบัติงาน และแผนงปม. การ • วิจัยของประเทศในเชิงบูรณาการ โดยการกำหนดผลผลิต งาน/โครงการ • และกิจกรรม ร่วมกับหน่วยงานสนับสนุน เพื่อจัดทำคำขอ งปม. รายจ่าย • ประจำปีในภาพรวมจาก สงป. ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป • ทั้งนี้ ควรจัดทำข้อเสนอการวิจัยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์หลักของการ • พัฒนาประเทศหรือยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาลด้วย •  แหล่งทุนวิจัยต่าง ๆ ที่ได้รับการจัดสรร งปม. ประจำปีจาก สงป. อาทิ วช. • สกว. สวทช. และ สวรส. เป็นต้น •  ฯลฯ

  50. 1.2 เงินนอกงบประมาณ •  เงินกู้ •  เงินอุดหนุน •  เงินช่วยเหลือจากในประเทศ •  เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ •  เงินรายได้ของส่วนราชการ •  เงินที่มีผู้บริจาคให้ส่วนราชการ •  เงินกองทุนและเงินหมุนเวียน •  ฯลฯ • ภาคเอกชน • 2.1 ธุรกิจเอกชน • 2.2 เอกชนที่ไม่ค้ากำไร • 2.3 ฯลฯ

More Related