1 / 30

ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)

ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ). OPEC เป็น cartel แต่ยังมีผู้ผลิตและส่งออกรายอื่นๆ ด้วย อำนาจเหนือตลาด (monopoly power) ของ OPEC ทำให้ OPEC สามารถเป็นผู้นำทางราคา (price leader). แบบจำลองผู้นำทางราคา ( Price Leadership Model ). ข้อสมมติ.

malini
Download Presentation

ตลาดน้ำมันโลก : การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)

  2. OPEC เป็น cartel แต่ยังมีผู้ผลิตและส่งออกรายอื่นๆ ด้วย • อำนาจเหนือตลาด (monopoly power) ของ OPEC ทำให้ OPEC สามารถเป็นผู้นำทางราคา (price leader)

  3. แบบจำลองผู้นำทางราคา( Price Leadership Model ) ข้อสมมติ OPEC เป็นผู้ผลิตรายใหญ่เพียงกลุ่มเดียว ที่เหลือเป็นรายเล็กๆ ผู้ผลิตรายใหญ่นี้เป็น “Dominant Firm”

  4. แบบจำลองผู้นำทางราคา( Price Leadership Model ) ข้อสมมติ รายใหญ่เป็นผู้ตั้งราคา ( Price Leader) รายเล็กเป็นผู้ตาม (Price Taker) อุปสงค์ของรายใหญ่ คือ อุปสงค์ส่วนที่เหลือจากการหักอุปทานของหน่วยผลิตรายเล็กออกจากอุปสงค์รวม

  5. ราคา ราคา 0 0 Q Q ดุลยภาพของหน่วยผลิตตามแบบจำลองผู้นำทางราคา บรรดารายเล็ก หน่วยผลิตผู้นำ P1 a b MC P2 a b P* P* d c c d D = AR D MR QS QT QD

  6. แบบจำลองกลุ่มผูกขาด( Cartel ) • Centralized Cartel กลุ่มผูกขาดแบบรวมศูนย์ กลุ่มที่ร่วมมืออย่างเป็นทางการ เพื่อร่วมกันกำหนดปริมาณการผลิต หรือระดับราคาสินค้าที่กลุ่มจะขาย

  7. บาท บาท รายรับ , ต้นทุน 0 0 Q Q 0 Q แบบจำลอง Centralized Cartel ผู้ผลิต A ผู้ผลิต B กลุ่ม Cartel MCB MCA ACB ACA P* P* DC R MRC QA QB QT

  8. บาท บาท รายรับ , ต้นทุน 0 0 Q Q 0 Q แบบจำลอง Centralized Cartel ผู้ผลิต A ผู้ผลิต B กลุ่ม Cartel MCB MCA ACB ACA P* P* DC R MRC QA QB QT มีแรงจูงใจที่จะผลิตเกินโควต้า (โกง)

  9. Cartels – เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ(Conditions for Success) • การจัดตั้งกลุ่มคาร์เทลที่มีเสถียรภาพ สามารถกำหนดราคา/ปริมาณการผลิต และ รักษาข้อตกลงร่วมกัน แต่ • สมาชิกแต่ละคนมีต้นทุน เป้าหมาย และ สภาพการประเมินอุปสงค์ตลาดที่ต่างกัน • P > MC --> มีแรงจูงใจที่จะบิดพลิ้ว โดยการลดราคา/ขยายการผลิต

  10. Cartels – เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ(Conditions for Success) 2. ศักยภาพในการสร้างอำนาจผูกขาด • ถ้าผลตอบแทนจากการฮั้วมีสูง สมาชิกก็จะมีแรงจูงใจในการรวมกลุ่มกัน • อุปสงค์ของกลุ่มคาร์เทลมีความยืดหยุ่นต่ำ • อุปสงค์รวมมีความยืดหยุ่นต่ำ • กลุ่มคาร์เทลสามารถควบคุม supply ได้เกือบทั้งหมด หรือ อุปทานของผู้ผลิตนอกกลุ่มมีความยืดหยุ่นต่ำ

  11. TD SR POPEC Pc MCOPEC QR QOPEC QT กรณี Oil Cartel ของ OPEC Price DOPEC MROPEC Quantity

  12. SR MCCIPEC DCIPEC PCIPEC MRCIPEC QR QCIPEC QT กรณี Cartel ของแร่ทองแดง (CIPEC) Price TD • TDและ SRค่อนข้างจะยืดหยุ่น • DCIPECยืดหยุ่นสูง • CIPECมีอำนาจผูกขาดต่ำ • PCIPECใกล้เคียงกับ PC PC Quantity

  13. ตั้งแต่ปี 2003 เป็นต้นมา น้ำมันแพงขึ้นอีกอย่างต่อเนื่องจากประมาณ $20-$30 ต่อบาเรล มากลายเป็นกว่า $100 ต่อบาเรล ในปี 2008 (สูงสุดที่ $141 ใน ก.ค. 2008) โดยมีหลายสาเหตุ (ทั้ง demand and supply):

  14. การผลิต (supply): • OPEC มีกำลังผลิตส่วนเกินลดลง • 11 ล้านบาเรลต่อวันใน ค.ศ. 1985 • 3 – 4 ล้านบาเรลต่อวันใน ค.ศ. 1995 • 1 ล้านบาเรลต่อวันใน ค.ศ. 2006 • และมี “ความเสี่ยง” ในหลายประเทศ เช่น อิรัค ไนจีเรีย และเวเนซูเอลา

  15. การผลิต (supply): • โรงกลั่นน้ำมันในสหรัฐฯ ไม่ขยายกำลังผลิต ต้องนำเข้าน้ำมันสุกเมื่อโรงกลั่นมีปัญหา • ความอ่อนไหวในกำลังผลิต (supplydisruptions): • ภัยธรรมชาติ เช่น พายุเฮอริเคนในอ่าวเม็กซิโก • คนงานสไตรค์บนแท่นขุดเจาะน้ำมัน

  16. ความต้องการ (demand): • จีนเพิ่ม demand ต่อเนื่อง กลายเป็นผู้ใช้และนำเข้ารายใหญ่ • ประเทศอุตสาหกรรมมีการใช้น้ำมันอย่างเข้มข้นน้อยลงมากแล้ว ทำให้ลดการใช้น้ำมันทำได้น้อยลงเมื่อน้ำมันแพงขึ้น

  17. เงินดอลลาร์อ่อนค่า • OPEC เพิ่มราคาเพื่อรักษากำลังซื้อ • เงินกองทุนหันมาเก็งกำไรในน้ำมัน

  18. จะแพงขึ้นอีกไหม? • ใน 1-2 ปีข้างหน้า ปัจจัยพื้นฐานน่าจะทำให้ราคาอ่อนตัว โดยเฉพาะผลของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ในปี 2009 และ 2010 • แต่การเก็งกำไร และความเสี่ยงด้าน supply disruptions ยังมีน้ำหนัก • ในระยะยาว ไม่มีน้ำมันราคาถูกอีกแล้ว

  19. อนาคตของ OPEC • อำนาจผูกขาดของ OPEC ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่มีผลต่อความยืดหยุ่นของ demand and supply สำหรับน้ำมัน

  20. อนาคตของ OPEC DO คือ demand สำหรับน้ำมันจาก OPEC DMคือ demand ทั้งหมดสำหรับน้ำมัน SNคือ supply ของน้ำมันจาก non OPEC

  21. อนาคตของ OPEC

  22. อนาคตของ OPEC หารด้วย dP/P

  23. อนาคตของ OPEC คูณด้วย -1

  24. อนาคตของ OPEC

  25. อนาคตของ OPEC eMDและeNSที่มีค่าต่ำลง ทำให้ demand สำหรับ น้ำมันจาก OPEC มีความยืดหยุ่นต่ำลงด้วย และอำนาจผูกขาดของ OPEC สูงขึ้น

  26. อนาคตของ OPEC OPEC Share ที่สูงขึ้น ทำให้ demand สำหรับ น้ำมันจาก OPEC มีความยืดหยุ่นต่ำลง และอำนาจผูกขาดของ OPEC สูงขึ้น

  27. อนาคตของ OPEC • Demand elasticity: พลังงานทดแทนใช้ในการขนส่ง เช่น biofuels NG รถไฟฟ้า คาดว่าจะสำคัญใน 5-10 ปีข้างหน้า • Demand growth: การเติบโตของเศรษฐกิจในจีน อินเดีย (+ บราซิล รัสเซีย) BRIC

  28. อนาคตของ OPEC • Supply from non-OPEC: รัสเซีย และ unconventional oil (ทรายน้ำมันในแคนาดา) อาจลดสัดส่วนของ OPEC ในช่วง 10-20 ปีหน้า

  29. อนาคตของ OPEC • Supply from non-OPEC: แต่ในระยะยาวเกิน 20 ปี สัดส่วนของ OPEC จะสูงขึ้นอีก (r-p ratio 70 ปี เทียบกับ 20 ปี) • จำนวนสมาชิกอาจเปลี่ยนไป มีทั้งออกและเข้าใหม่ (เช่น บราซิล?)

More Related