1 / 25

ฟิสิกส์อะตอม

ฟิสิกส์อะตอม. จัดทำโดย นายอรัญ วงค์ จอม ครูชำนาญการ. โรงเรียน พยุห์ วิทยา อำเภอ พยุห์ จังหวัดศรีสะ เกษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 28. อะตอม ทฤษฎีอะตอมของดอลตันกล่าวว่า สสารประกอบด้วยหน่วยย่อยที่สุดคือ อะตอม.

Download Presentation

ฟิสิกส์อะตอม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฟิสิกส์อะตอม จัดทำโดย นายอรัญ วงค์จอม ครูชำนาญการ โรงเรียนพยุห์วิทยา อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 28

  2. อะตอมทฤษฎีอะตอมของดอลตันกล่าวว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยที่สุดคือ อะตอม อะตอมทฤษฎีอะตอมของดอลตันกล่าวว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยที่สุดคือ อะตอม

  3. การค้นพบอิเล็กตรอน การค้นพบอิเล็กตรอนโดยการทดลองของทอมสัน สามารถสรุปได้ว่ารังสีแคโทดเป็นลำอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบจึงเรียกอนุภาคดังกล่าวว่า อนุภาครังสีแคโทด (cathode ray particle)

  4. ผลการทดลองของทอมสันแสดงให้เห็นว่า อะตอมแต่เดิมเข้าใจกันว่าแบ่งย่อยไม่ได้นั้น ความจริงสามารถแบ่งย่อยไปได้อีก และอิเล็กตรอนคือองค์ประกอบหนึ่งของอะตอมทุกชนิด สมการดังนี้ = ประจุไฟฟ้าm= มวล

  5. การหาประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนโดยการทดลองของมิลิแกนจากการทดลองของทอมสันทำให้รู้อัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนแต่ยังไม่สามารถรู้ประจุไฟฟ้าและขนาดของมวลของอิเล็กตรอนได้จนกระทั่ง โรเบิร์ต เอ มิลลิแกน ได้ทดลองวัดค่าประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนได้สำเร็จ โดยการวัดประจุบนหยดน้ำมัน

  6. สมการ หยดน้ำมันมวล m มีประจุไฟฟ้า q qE = mgหรือ q = Eคือขนาดความเข้มสนามไฟฟ้า ซึ่งหาได้จากE =

  7. การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด เขาทดลองโดยใช้อนุภาคแอลฟาเป็นกระสุนยิงแผ่นไมกาบางๆปรากฏว่าแอลฟาทะลุผ่านแผ่นไมกาไปได้แต่มีการกระเจิง

  8. รัทเทอร์ฟอร์ดจึงได้สรุปผลว่า โครงสร้างอะตอมไม่เป็นตามแบบจำลองอะตอมของทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ดจึงได้เสนอแบบจำลองอะตอมใหม่ว่าอะตอมประกอบด้วยประจุไฟฟ้าบวกรวมกัน ซึ่งเรียกรวมว่า นิวเครียส และเป็นที่รวมของมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีมวลน้อยมากเคลื่อนที่อยู่รอบนอกขนาดของอะตอมจึงขึ้นกับบริเวณที่อิเล็กตรอนอยู่ ซึ่งนับว่าใหญ่กว่านิวเครียสมากบริเวณที่อิเล็กตรอนอยู่จึงโปร่งต่อการเคลื่อนที่ผ่านของอนุภาคแอลฟา

  9. การทดลองด้านสเปกตรัม สมการคือ λ = b[ ] b เป็นค่าคงตัวที่มีค่าเท่ากับ 364.56 นาโนเมตร n = เป็นเลขจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า

  10. การแผ่รังสีของวัตถุดำ วัตถุใดที่แผ่รังสีได้ดีจะดูดกลืนรังสีได้ดีด้วย วัตถุใดที่แผ่รังสีได้ดีและดูดกลืนรงสีตกกระทบได้อย่างสมบูรณ์ เรียกว่า วัตถุดำ(black body) ในปี พ.ศ. พลังค์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ตั้งสมมติฐานเพื่ออธิบายการแผ่รังสีของวัตถุดำ เรียกว่า สมมติฐานของพลังค์ มีใจความว่า พลังที่วัตถุดำรับเข้าไปหรือปล่อยออกมามีค่าได้เฉพาะบางค่าเท่านั้น เขียนได้ว่าE = hf f เป็นความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีหน่วยเป็นเฮิร์ต E เป็นพลังงานมีหน่วยเป็นจูล

  11. ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก แสงที่มีความยาวคลื่นสั้นหรือความถี่สูงตกกระทบผิวโลหะจะทำให้อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าหลุดออกมาจากโลหะได้ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ถ้าพลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนจะเท่ากับผลต่างระหว่างพลังงานศักย์ไฟฟ้าพอดี = e e คือประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน คือความต่างศักย์ไฟฟ้า

  12. ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก สรุปได้ดังนี้1.โฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้น เมื่อแสงที่ตกกระทบโลหะมีความถี่อย่างน้อยเท่ากับความถี่ขีดเริ่ม และโฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดทันทีที่แสงตกกระทบผิวของโลหะ 2.จำนวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้น ถ้าแสงที่ใช้มีความเข้มแสงมากขึ้น 3.พลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนไม่ขึ้นกับความเข้มแสงแต่ขึ้นกับความถี่ของแสง

  13. พลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนคำนวณได้จากสมการ = hf - W ถ้าอิเล็กตรอนนั้นไม่มีพลังงานจลน์อยู่ หรือ = 0 เรียกว่าความถี่ขีดเริ่ม แทนด้วยสัญลักษณ์ 0 = h - W ถ้าแสงมีความถี่ขีดเริ่มสามารถเขียนสมการเป็น = hf - W

  14. รังสีเอ็กซ์ ค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2438 โดยเรินต์เกนนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน

  15. การเกิดรังสีเอ็กซ์มีสองกระบวนการคือ ก.การเกิดรังสีเอ็กซ์ต่อเนื่อง เกิดจากอิเล็กตรอนซึ่งวิ่งผ่านใกล้นิวเคลียสเปลี่ยนความเร็วอย่างรวดเร็ว(เปลี่ยนทั้งขนาดและทิศทาง) มีสมการดังนี้ = c คืออัตราเร็วของแสง คือความยาวคลื่นต่ำสุดของรังสีเอ็กซ์

  16. ข.การเกิดรังสีเอ็กซ์ที่ให้สเปกตรัมเส้น เรียกกระบวนการเกิดรังสีเอ็กซ์นี้ว่า การเรืองรังสีเอ็กซ์และเรียกรังสีเอ็กซ์นี้ว่า รังสีเอ็กเฉพาะตัว รังสีเอ็กเฉพาะตัว ที่เกิดขึ้นจะมีพลังงานเท่ากับผลต่างระหว่างระดับพลังงานที่อิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจรคือ E = - E = พลังงานของรังสีเอ็กซ์เฉพาะตัว= พลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรเดิม= พลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรใหม่

  17. สมมติฐานของเดอ บรอยล์ ความยาวคลื่นของอนุภาคหรือความยาวคลื่นสสารนี้ เรียกว่า ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ หาได้จากสมการ λ =mมวลสสารvความเร็วmv ความยาวคลื่น

  18. กลศาสตร์ควอนตัม สรุปได้ว่า กลศาสตร์ควอนตัมสามารถอธิบายอะตอมได้กว้างขวางกว่าและดีกว่าทฤษฎีอะตอมของโบร์มากทฤษฎีนี้จึงเป็นที่ยอมรับกันมาจนถึงปัจจุบัน จากหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก มีความสัมพันธ์กันดังนี้ (∆x)(∆px) h ∆x คือความไม่แน่นอนของตำแหน่ง ∆px คือความไม่แน่นอนของโมเมนตัม

  19. ข้อสอบเรื่องฟิสิกส์อะตอมข้อสอบเรื่องฟิสิกส์อะตอม

  20. 1.

  21. 2.

  22. 3.

  23. 4.

  24. 5.

  25. เฉลย ข้อ1.2 ข้อ 2. 4 ข้อ 3. 4 ข้อ 4. 4 ข้อ 5. 3

More Related