1 / 42

บทนำ บทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ

บทนำ บทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ. อ. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา. บทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ. เศรษฐศาสตร์สาธารณะคืออะไร มุมมองบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน วิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณะ การดำเนินนโยบายที่เหมาะสมของรัฐบาล. เกริ่นนำ : เศรษฐศาสตร์สาธารณะคืออะไร.

Download Presentation

บทนำ บทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทนำบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจบทนำบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ อ. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา

  2. บทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ • เศรษฐศาสตร์สาธารณะคืออะไร • มุมมองบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน • วิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณะ • การดำเนินนโยบายที่เหมาะสมของรัฐบาล

  3. เกริ่นนำ: เศรษฐศาสตร์สาธารณะคืออะไร • รัฐมีบทบาทความสำคัญต่อการดำรงชีพของประชาชนทุกๆ คนในสังคม • นับตั้งแต่เกิดจนตาย การให้บริการสาธารณะต่างๆ • การจัดเก็บภาษีหรือรายได้ โดยมีเป้าหมายแตกต่างกัน • บทบาทรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ • เสริมสร้างประสิทธิภาพการทำหน้าที่ของกลไกตลาด (Efficiency) • สร้างความเท่าเทียมในการกระจายทรัพยากร (Equity) • ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) • การใช้เครื่องมือกำกับเศรษฐกิจประกอบทั้งการใช้ ราคา vs. การสั่งการ • การสั่งการอาจใช้อำนาจรัฐโดยตรงจากกฎหมาย ระเบียบราชการ หรือการทำงานผ่านรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่เป็นการผลิตโดยหน่วยงานของรัฐ

  4. มุมมองเกี่ยวกับบทบาทของรัฐบาลมุมมองเกี่ยวกับบทบาทของรัฐบาล • Mercantilism • Laissez Faire (Adam Smith) • Socialism (Karl Marx, Sismondi, Robert Own etc.) • Keynesian (John Maynard Keynes) • Public Choices

  5. มุมมองเกี่ยวกับบทบาทของรัฐบาลมุมมองเกี่ยวกับบทบาทของรัฐบาล • “The role of government is to create an environmentin which the entrepreneur is willing to take risk and be able to get a return on the risk taken.” • George W. Bush • “… the right public policies canfoster an environment that makes strong growth and job creation easier.” • From Kerry and Edwards “Our Plan For America”

  6. แนวทางการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณะแนวทางการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณะ

  7. แนวทางการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณะแนวทางการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณะ • เรียนรู้บทบาทภาครัฐในระบบเศรษฐกิจ • เรียนรู้ผลที่เกิดจากการทำหน้าที่ของรัฐ • สามารถประเมินผลที่ได้รับ • เรียนที่จะเข้าใจกระบวนการการตัดสินใจ การเรียนรู้ใช้ทั้ง positive and normative approach

  8. ดุลยภาพเศรษฐกิจและสวัสดิการสังคมดุลยภาพเศรษฐกิจและสวัสดิการสังคม รูปที่ 1.1 ดุลยภาพตลาด P a S c P1 E P* P2 d D b Q* Q Q*

  9. ดุลยภาพเศรษฐกิจและสวัสดิการสังคมดุลยภาพเศรษฐกิจและสวัสดิการสังคม รูปที่ 1.1 ดุลยภาพตลาด PM Providing the first unit gives a great deal of surplus to “society.” The surplus from the next unit is the difference between the demand and supply curves. S Social efficiency is maximized at Q*, and is the sum of the consumer and producer surplus. The area between the supply and demand curves from zero to Q* represents the surplus. P* This area represents the social surplus from producing the first unit. D 0 1 Q* QM

  10. PM S สามเหลี่ยมนี้แสดง lost surplus ต่อสังคม หรือที่เรียกว่า “deadweight loss.” social surplus จาก Q’ คือ พื้นที่นี้larger consumer and smaller producer surplus. P* การคุมราคาทำให้ปริมาณลดเหลือ Q´, และมี Excess Demand P2 D Q´ Q* QM

  11. First Fundamental Theorem of Welfare Economics คำถามคือปัจจัยอะไรทำให้เกิดการไม่ได้ดุลยภาพขึ้นได้ ซึ่งได้แก่ “การล้มเหลวของตลาด” • ภายใต้ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ เมื่ออุปสงค์มวลรวมเท่ากับอุปทานมวลรวม สวัสดิการสังคมจะสูงที่สุด จากรูปที่ 1.1 คือที่จุด E • ตำแหน่งใดๆ ที่นอกเหนือจากจุดการบริโภคที่ Q* จะทำให้สวัสดิการสังคมทั้งด้านอุปสงค์และอุปทานต่ำกว่า E • นอกจากนี้การไม่อยู่ในดุลยภาพทำให้เกิดปัญหา deadweight loss กับสังคมขึ้นด้วย อันเป็นผลจากการที่มีการจัดสรรทรัพยากรใหม่เกิดขึ้น • การดำเนินนโยบายของรัฐบาลจึงต้องพิจารณาผลที่เกิดกับการสูญเสียของ consumer surplus และ supplier surplus ว่าเป็นอย่างไร โดยการกระจายผลที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลในสังคม ตัวอย่างการมีการควบคุมราคา (price Control) ที่ P2เกิด deadweight loss เท่ากับ P2 dEP* ซึ่งเกิดจากการควบคุมราคาทำให้เกิดการปริมาณที่สามารถนำไปใช้บริโภคได้ ความล้มเหลวของตลาดที่ประกอบทั้ง สินค้าสาธารณะ การผูกขาด externalities ข้อมูลข่าวสารไม่สมบูรณ์ disequilibrium

  12. เงื่อนไขการได้ First Fundamental Welfare Condition ส้ม ส้ม j3 i3 j2 i2 j1 i1 เป็นเงื่อนไขที่เกิดจากากรแลกเปลี่ยนในระบบเศรษฐกิจที่อาศัยกลไกตลาด ที่ผู้บริโภคมีความพอใจของตนเอง และนำมาแลกปลี่ยนกันและกัน ที่นำไปสู่ welfare ที่ดีขึ้น หรือ ประสิทธิภาพสูงสุด (Pareto Optimality) ทุเรียน ทุเรียน 0 0 Utilities ของ นาย ก. Utilities ของ นาย ข.

  13. ส้ม: o เงื่อนไขการได้ First Fundamental Welfare Condition ส้ม j3 i3 j2 i2 j1 i1 ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าวผู้บริโภคแต่ละคนมีความพอใจตาม utility function หรือ indifference curve ของตนเอง โดยเส้น indifference curve มี slope คือ MRS = Pd /Po ของแต่คน ทุเรียน: d ทุเรียน 0 0 Utilities ของ นาย ก. Utilities ของ นาย ข.

  14. Utilities ของ นาย ข. ทุเรียน 0 ส้ม C B A ส้ม 0 ทุเรียน Utilities ของ นาย ก.

  15. Utilities ของ นาย ข. ทุเรียน 0ข ส้ม C D B A ส้ม 0ก ทุเรียน Utilities ของ นาย ก.

  16. Utilities ของ นาย ข. ทุเรียน 0ข ส้ม C D เส้น Oก และ Oข แสดงที่เรียกว่า Contract Curve คือเส้นที่บอก ถึงประสิทธิภาพสูงสุดจากการแลกเปลี่ยนของบุคคลทั้งสอง ซึ่ง ณ จุดที่มี การแลกเปลี่ยนจะได้เงื่อนไขคือ MRS ของนาย ก. = MRS ของนาย ข.ตามแนว เส้น Oก และ Oข และยังเท่ากับ Pd /Po หรือ เท่ากับ MCd = MC oเพราะการแลกเปลี่ยน ดังกล่าวอยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ส้ม Utilities ของ นาย ก. ทุเรียน 0ก

  17. รูปที่ W.1. เงื่อนไข First Fundamental Welfare กับการผลิต ส้ม 0 g r โดยที่ MRT = MCd /MCo n s MRT m h ทุเรียน 0

  18. เงื่อนไข First Fundamental Welfare Condition • ดังนั้นเงื่อนไข ที่ดีที่สุดหรือมีประสิทธิภาพมากที่ภายใต้ first fundamental condition ทั้งด้านการผลิตและการบริโภคของระบบเศรษฐกิจที่มีการใช้กลไกตลาดที่สมบูรณ์คือ • MRS นาย ก. = MRS นาย ข. = MRT จากการผลิต หรือสัดส่วนของ MC สินค้าที่มีการแลกเปลี่ยน • ซึ่งทั้งหมดนี้คือเงื่นไขของ Pareto Optimality • จากตัวอย่างจะเห็นการแลกเปลี่ยนต่อตามเส้น Contract Curve ที่แสดง ระดับ utilities ของทั้งสองคน ซึ่งสามารถนำมาสร้างเส้น utilities ที่แต่ละระดับการแลกเปลี่ยนของทั้งสองคนได้

  19. นาย ข. Uข E H SW1 G Uก นาย ก.

  20. Second Fundamental Theorem of Welfare Economics • สังคมยอมรับการเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพ หากมีการกระจายทรัพยากรที่เหมาะสมและมีการแลกเปลี่ยนที่เสรี • (Society can attain any efficient outcome by a suitable redistribution of resources and free trade) • ดังนั้นจากการพิจารณารูปที่ 1.1 ต้องดูด้วยว่าการกระจายการบริโภคระหว่างประชาชนเป็นอย่างไร • เป็นผลให้ในความเป็นจริงต้องเผชิญปัญหาการเลือกระหว่าง Equity-Efficiency Tradeoff เสมอ ซึ่งพิจารณาได้จาก Social Welfare Function ที่รวม welfare ของทุกๆ คนเข้าไว้ด้วยกัน

  21. Utilities ของ นาย ข. สินค้าสาธารณะ 0 สินค้าเอกชน C B A สินค้าเอกชน 0 สินค้าสาธารณะ Utilities ของ นาย ก.

  22. นาย ข. Uข E H SW1 G Uก นาย ก.

  23. เงื่อนไข เศรษฐศาสตร์สวัสดิการภายใต้ Second Fundamental Condition • Pareto Optimality ที่จะยอมรับการชอชเยสวัสดิการที่สูยเสียจากความมีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยความที่มีสวัวสดิการจากความเท่าเทียมมากขึ้น โดยมีผลลัพธ์ คือ MRSiของทุกๆ คน จะไม่จำเป็นที่ต้องเท่ากันโดย i = ผู้บริโภคทั้งหมด ในที่นี้คือ และ ∑MRSij= MRT

  24. เส้นความเป็นไปได้ในการผลิตสินค้าของระบบเศรษฐกิจเส้นความเป็นไปได้ในการผลิตสินค้าของระบบเศรษฐกิจ Private Goods Y C B A D E X1 X Public Goods

  25. เงื่อนไข เศรษฐศาสตร์สวัสดิการภายใต้ Second Fundamental Condition • อาจสูญเสียการได้ Pareto Optimality เพื่อมุ่งให้เกิดความเป็นธรรมมากขึ้นทำให้ เงื่อนไขการจัดสรรทรัพยากรเปลี่ยนเป็น • MRSiของแต่ละคน ไม่เท่ากันโดย i = ผู้บริโภคทั้งหมด ในที่นี้คือ นาย ก. และ นาย ข. • MRSก + MRSข = MRT

  26. วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการดำเนินนโยบายการคลังวัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการดำเนินนโยบายการคลัง • เพื่อให้เกิดผลต่อการทำงานของระบบเศรษฐกิจ • ปรับเปลี่ยนอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม • แก้ปัญหาความล้มเหลวของตลาด • เพื่อทำให้เกิดสวัสดิการของสังคมที่สูงที่สุด (เป้าหมายสูงสุดของการดำเนินการทางเศรษฐกิจของรัฐบาล) • สินค้าสาธารณะ (Public Goods) • การผูกขาด (Monopoly) • ผลภายนอก (Externalities) • ตลาดไม่สมบูรณ์ (Imperfect market) • ข้อมูลไม่สมบูรณ์ (Imperfect market) • การไม่มีดุลยภาพ (Disequilibrium)

  27. เป็นความคิดตั้งแต่สมัย Adam Smith ที่สังคมต้องการสินค้าและบริการบางชนิดเช่นสินค้าสาธารณะเพื่อสังคม โดยอาจใช้ทั้งมาตรการทางรายได้หรือรายจ่าย วัตถุประสงค์ของการดำเนินนโยบายการคลัง (แนวคิดเดิม) • การจัดสรรทรัพยากร (Allocation of Resources) • สินค้าสาธารณะ (Public goods) • การทำให้มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระดับมหภาค (Macroeconomic Stabilization) • การจ้างงานเต็มที่ • การมีเสถียรภาพของราคา • บัญชีดุลการชำระเงินที่สมดุล • การกระจายรายได้ใหม่ (Income Redistribution) • การขยายตัวเศรษฐกิจ Economic Growth Promotion มีความหมายที่แตกต่างกันระหว่างประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา โดยในประเทศพัฒนาแล้วจะทำให้ได้ใกล้ full employment แต่ประเทศกำลังพัฒนากำหนดได้ลำบากกว่าด้วยเหตุผลอะไร ความหมายที่แตกต่างกันระหว่างประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ในประเทศพัฒนาแล้วการกระจายรายได้ทำไห้มีการบริโภคมากขึ้นและการจ้างงานมากขึ้น แต่ประเทศกำลังพัฒนามุ่งเพื่อสร้างความเท่าเทียมและโอกาส Musgrave, Public Finance, 1959

  28. อะไรคือบทบาทที่เหมาะสมของรัฐบาลอะไรคือบทบาทที่เหมาะสมของรัฐบาล • ทางด้านรายจ่าย: รัฐบาลควรผลิตสินค้าหรือให้บริการสาธารณะประเภทใดบ้าง • ทางด้านรายรับ: รัฐบาลจะหารายรับได้อย่างไร

  29. 4 คำถามสำคัญของเศรษฐศาสตร์การคลัง • When should the government intervene in the economy? รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไร • Howmight the government intervene? รัฐบาลจะแทรกแซงระบบเศรษฐกิจได้อย่างไร • Whatis the effect of those interventions on economic outcomes? อะไรคือผลของการแทรกแซงของรัฐบาล • Whydo governments choose to intervene in the way that they do? ทำไมรัฐบาลถึงเลือกที่จะแทรกแซงในรูปแบบนั้น

  30. รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรรัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไร • โดยปกติแล้ว ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์จะทำให้เกิด “ประสิทธิภาพ” ในระบบเศรษฐกิจ • เป็นการยากที่จะบอกว่าการแทรกแซงของรัฐบาลเป็นการกระทำที่ถูกต้องหรือไม่ โดยปกติมักจะพิจารณาจาก • ความมีประสิทธิภาพ • ความเท่าเทียม

  31. รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรด้านความมีประสิทธิภาพรัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรด้านความมีประสิทธิภาพ • ในระบบตลาดตามปกติ ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้น ณ จุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน • ในแง่ของสินค้าสาธารณะ – การป้องกันประเทศ การทำความสะอาดถนน

  32. รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรความล้มเหลวของตลาดรัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรความล้มเหลวของตลาด • ในปี 2544 มีประชากรมากกว่า 45 ล้านคนหรือ 75 % ของประชากรทั้งหมดที่ไม่สามารถได้รับบริการสาธารณสุขที่เพียงพอ ในปี 2545 รัฐบาลใช้งบประมาณ 32,000 ล้านบาทในการจัดทำโครงการสาธารณสุขให้กับประชาชน • การที่ประชาชนไม่ได้รับบริการสาธารณสุขที่เหมาะสม จะทำให้เกิดผลกระทบภายนอกทางด้านลบขึ้น (negative externalities)จากการเจ็บป่วย แต่ประชาชนอาจจะไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลอื่น

  33. รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรการกระจายรายได้ใหม่รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรการกระจายรายได้ใหม่ • รัฐบาลสนใจทั้งขนาดของก้อนเค้กและขนาดของเค้กที่แต่ละคนในสังคมจะได้ • สังคมมักจะให้ค่าสำหรับการที่คนจนบริโภคเพิ่มขึ้น 1 บาทมากกว่าการที่คนรวยบริโภคเพิ่มขึ้น 1 บาท • การกระจายรายได้ใหม่เป็นการโอนทรัพยากรจากคนกลุ่มหนึ่งในสังคมไปยังคนอีกกลุ่มหนึ่ง

  34. รัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรด้านความเท่าเทียมรัฐบาลควรจะเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเมื่อไรด้านความเท่าเทียม • จากข้อมูลการกระจายรายได้ในประเทศไทย คน 20% รวยสุดของประเทศมีรายได้มากกว่า 50% ของรายได้ทั้งหมดในประเทศ • การกระจายรายได้ใหม่มักจะทำให้เกิดการสูญเสียประสิทธิภาพ • กฎหมายที่เกี่ยวกับการกระจายรายได้ใหม่สามารถทำให้พฤติกรรมของคนเปลี่ยนไป เช่น การเก็บภาษีจากคนรวยมากระจายให้คนจนอาจจะทำให้คนทั้งสองกลุ่มนี้ทำงานน้อยลง

  35. วิธีการนำนโยบายการคลังมาใช้วิธีการนำนโยบายการคลังมาใช้ • การจัดสรรทรัพยากรและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • โดยจัดการเกี่ยวกับโครงสร้างภาษี ราคาของบริการสาธารณะ วิธีการก่อหนี้ สถาบันของรัฐ ปัจจัยพื้นฐานต่างๆ การจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ การออม การสะสมทุน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • ความมีเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ (ระยะสั้น-ระยะยาว) • โดยจัดการเกี่ยวกับอุปสงค์มวลรวม การออม ฯลฯ • ความเท่าเทียมและความยากจน • โดยจัดการเกี่ยวกับโครงสร้างภาษี นโยบายรายจ่าย การสร้างระบบโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคม (social safety net)

  36. วัตถุประสงค์ทั่วไปในการนำนโยบายการคลังมาใช้วัตถุประสงค์ทั่วไปในการนำนโยบายการคลังมาใช้ • เพื่อกำหนดการทำงานของระบบเศรษฐกิจ; • การปรับตัวของอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม • แก้ไขความล้มเหลวของตลาด ตัวอย่าง โครงการประกันสุขภาพทั่วหน้า การลงทุนด้านการศึกษา • เพื่อให้ได้สวัสดิการสังคมสูงสุด (เป็นเป้าประสงค์ประสงค์สำคัญที่สุดของการทำหน้าที่ของรัฐบาล) รัฐบาลไม่อาจจะจำกัดในหน้าที่ด้านใดด้านหนึ่งมากเกินไป

  37. ความมีประสิทธิผลของนโยบายการคลังความมีประสิทธิผลของนโยบายการคลัง การเป็นเครื่องมือในการจัดการทางด้านอุปสงค์ (ระยะสั้น) ซึ่งผลก็ขึ้นอยู่กับ: • การตอบสนองของภาคเอกชน (ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมต่างๆ: การบริโภค การลงทุน การออม การนำเข้า และการส่งออก) • นโยบายในระดับมหภาค: นโยบายการเงินการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน การเคลื่อนไหวของทุน • ปัจจัยภายนอก • ความคาดหวังของสังคมและความน่าเชื่อถือของภาครัฐ

  38. วัตถุประสงค์ของนโยบายการคลัง (แนวคิดใหม่) • รักษาไว้ซึ่งภาวการณ์ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (Maintain of competitive economic environment) • รักษาไว้ซึ่งการมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Maintain of economic stability) • การกระจายรายได้ใหม่ (Income redistribution) • การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม (Environmental protection and preservation) The World Bank, The State in the Changing World:1997

  39. แนวคิด 2 กระแส • การปล่อยให้กลไกตลาดทำงาน (Market Based Strategy) • รัฐบาลเป็นผู้ให้แนวทาง • สร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้กลไกตลาดทำงานได้ (Create market environment) • การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล (Total government control) • การรวมศูนย์การตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลาง (Centralized in decision making) • การมีแผนที่ไม่ยืดหยุ่น (Rigid planning)

  40. องค์ประกอบขององค์กรของรัฐระบบเศรษฐกิจองค์ประกอบขององค์กรของรัฐระบบเศรษฐกิจ • รัฐบาล (กลาง) • รัฐวิสาหกิจ • รัฐบาลท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) • เงินกู้ยืม • กองทุนในงบประมาณของรัฐบาล • องค์กรอิสระ

  41. ความล้มเหลวของภาครัฐ (Systematic Failure 0f Government) • ข้อมูลข่าวสารที่ไม่สมบูรณ์ (limited Information) • เช่นการแจกเบี้ยผู้สูงอายุ การประกันรายได้เกษตรกร • ความสามารถในการควบคุมการตอบสนองของกลไกตลาด (Limited control over private market responses) • ความร่วมมือในการสร้างหลักระกันสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชน • ข้อจำกัดการควบคุมกลไกรัฐ (Limited control over Bureaucracy) • การควบคุมการบุกรุกที่สาธารณะ • ข้อจำกัดในการได้รับการยอมรับจากกระบวนการทางการเมือง (Limited Imposed by Political Process) • การควบคุมการออกกฎหมายตามเป้าประสงค์ของรัฐ เช่นกฎหมายภาษีทรัพย์สิน

More Related