1 / 39

เค้าโครง

เค้าโครง. การวิจัยเพื่อพัฒนา. การจัดการเรียนรู้. 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้. และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน. โรงเรียนศรีพฤฒา. จากแนวคิด การวิจัยและพัฒนานวตกรรม ของ รศ. ดร. สุพักตร์ พิบูลย์. สูตรพัฒนานวตกรรม. นวัตกรรม. วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน. ตรวจสอบสภาพ/

lupita
Download Presentation

เค้าโครง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เค้าโครง การวิจัยเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้

  2. 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนศรีพฤฒา

  3. จากแนวคิด การวิจัยและพัฒนานวตกรรม ของ รศ. ดร. สุพักตร์ พิบูลย์

  4. สูตรพัฒนานวตกรรม นวัตกรรม วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน ตรวจสอบสภาพ/ วิเคราะห์ปัญหา อีกครั้ง X 2 สื่อ 1 วิธีการใหม่ ๆ โครงการ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  5. แผนดำเนินงานทุกกิจกรรมแผนดำเนินงานทุกกิจกรรม 15-30 มิถุนายน สำรวจและกำหนดประเด็นศึกษา เลือกกลุ่มตัวอย่างและสร้างรูปแบบกิจกรรม 1-15 กรกฎาคม ทดลองกิจกรรม 18 กรกฎาคม– 9 กันยายน ดำเนินงานแต่ละกิจกรรม 12-16 กันยายน สำรวจผลหลังการใช้กิจกรรม 1-31 ตุลาคม วิเคราะห์ข้อมูล / สรุปและรายงานผล

  6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทุกกลุ่มสาระฯได้รูปแบบกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมนักเรียน 2. ได้แนวทางในการปรับพฤติกรรมนักเรียน

  7. 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้วิจัย : ครูวิรวรรณ หอมหวล ปัญหา : นร.เข้าเรียนช้า นวตกรรม : กระบวนการกลุ่ม เครื่องมือ : บันทึกการเข้าเรียน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม4/10 จำนวน 40 คน

  8. แก้ปัญหานร.เข้าเรียนช้าแก้ปัญหานร.เข้าเรียนช้า นวัตกรรม นร. เข้าห้องเรียนช้า สำรวจ การเข้าห้องเรียน อีกครั้ง ใช้ กระบวนการกลุ่ม 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  9. 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้วิจัย : ครูชูศรี พรมจันทร์ ปัญหา : นร.สนใจบทเรียนวิทยาศาสตร์น้อย นวตกรรม : สื่อนำเสนอ เครื่องมือ : แบบทดสอบ กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.5/2 จำนวน 40 คน

  10. แก้ปัญหา นักเรียนสนใจบทเรียนน้อย นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดความสนใจ บทเรียน ตรวจสอบ ความสนใจ ในบทเรียน อีกครั้ง ใช้สื่อนำเสนอ เน้นให้เด็กร่วม อภิปรายและแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  11. 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผู้วิจัย : ครูกลุ่มคณิตศาสตร์ ปัญหา : นร.ไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ นวตกรรม : กิจกรรมปรับเจตคติ เครื่องมือ : แบบสำรวจ แบบประเมิน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ทุกระดับ จำนวน 1000 คน

  12. แก้ปัญหา นักเรียนไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ไม่ชอบวิชา คณิตศาสตร์ ตรวจสอบเจคติ ที่มีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ อีกครั้ง ใช้กิจกรรม เน้นส่งเสริม เจตคติที่ดีต่อ วิชาคณิตศาสตร์ เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  13. 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ ผู้วิจัย : ครูจิราพร โปสรักขะกะ ปัญหา : นร.ใช้โทรศัพท์ขณะเรียน นวตกรรม : มาตรการหักคะแนน เครื่องมือ : แบบบันทึกคะแนน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.4/7 จำนวน 38 คน

  14. แก้ปัญหา การใช้โทรศัพท์ในขณะเรียน นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ใช้โทรศัพท์ ในขณะเรียน ตรวจสอบ ความร่วมมือ อีกครั้ง ใช้กิจกรรม มาตรการหักคะแนน เน้นให้ นร. อภิปรายและแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  15. ผู้วิจัย : ครูเอื้อพร ชลสินธุ์สงครามชัย ปัญหา : นร.ไม่เรียนวิชาสังคมฯ นวตกรรม : กระบวนการเฝ้าระวัง เครื่องมือ : แบบบันทึกการมาเรียน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.3/6 จำนวน 36 คน 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ

  16. แก้ปัญหา นักเรียนไม่เข้าเรียนวิชาสังคมศึกษา นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดเรียนบ่อย ตรวจสอบ การเข้าเรียนเรียน อีกครั้ง ใช้กระบวนการ เฝ้าระวัง กำกับ/ติดตาม และแก้ปัญหา เป็นระยะ ๆ ตลอด 2 เดือน 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  17. 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ผู้วิจัย : ครูนพมาส มีวัตถา ปัญหา : นร.ไม่ส่งงาน นวตกรรม : กระบวนการเสริมแรงบวก “ชม” เครื่องมือ : บันทึกการส่งงาน กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม.3/7, 10 จำนวน 80 คน

  18. แก้ปัญหา นักเรียนไม่ทำงานส่ง นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ไม่ทำงานส่ง ตรวจสอบ การส่งงาน อีกครั้ง ใช้กระบวนการ เสริมแรง ทางบวก “ชม” 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  19. 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้วิจัย : ครูช่างอุตสาหกรรม ปัญหา : นร.ขาดค่านิยมการลดพลังงานไฟฟ้า นวตกรรม : กิจกรรมปลูกฝังวินัยการประหยัดไฟฟ้า เครื่องมือ : ตารางบันทึกการลดพลังงาน กลุ่มตัวอย่าง : นร. แผนช่างฯ จำนวน 130 คน

  20. แก้ปัญหา นักเรียนขาดวินัยในการประหยัดไฟฟ้า นวัตกรรม พบว่า นักเรียน ขาดค่านิยม ประหยัดไฟ ตรวจสอบ พฤติกรรม การประหยัด ไฟฟ้า อีกครั้ง ใช้กิจกรรม ปลูกฝังวินัย และค่านิยม ประหยัดไฟ 2 เดือน 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  21. การสร้างวินัยด้านการประหยัดไฟสำหรับนักเรียนแผนช่างอุตสาหกรรม โรงเรียนศรีพฤฒา • เครื่องมือ 1. ตารางบันทึกการสำรวจสวิชไฟที่เปิดไว้โดยไม่จำเป็น...ทุกวัน 2. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมปลูกฝังวินัยด้านการประหยัดพลังงาน สำหรับนักเรียน แผนช่างอุตสาหกรรม ครูช่างอุตสาหกรรม

  22. กิจกรรมพัฒนา(Treatment)…X • กำหนดแนวปฏิบัติปิดไฟทุกดวงที่ไม่จำเป็น • แต่งตั้งนักเรียนทำหน้าที่ผู้จัดการด้านพลังงานในแต่ละสัปดาห์ • ตรวจสอบ การไม่ปิดสวิชไฟบนอาคารเรียนในแต่ละชั้น • ประเมินความก้าวหน้าในการปิดสวิชไฟในแต่ละสัปดาห์ • ปฏิบัติการปลูกฝังค่านิยมในการประหยัดพลังงาน 2 เดือน

  23. 8. กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ผู้วิจัย : ครูสอนภาษา ตปท. 6 ระดับ ปัญหา : นร. มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ นวตกรรม : กิจกรรมปลูกฝังพฤติกรรมเด็กดีศรีพฤฒา เครื่องมือ : แบบสำรวจพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่าง : นร. ระดับ ม.1-6 จำนวน 210 คน

  24. แก้ปัญหา นักเรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ นวัตกรรม พบว่า นักเรียน มีพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ ประเมิน พฤติกรรม ในสถานการณ์ ต่างๆ อีกครั้ง ใช้กิจกรรม ปลูกฝังพฤติกรรม เด็กดีศรีพฤฒา 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  25. คำนิยาม “พฤติกรรมไม่พึงประสงค์” • นั่งโยกโต๊ะและเก้าอี้ • ใช้โทรศัพท์ขณะเรียน • ตะโกนด่าว่ากันเสียงดัง • เคาะโต๊ะเรียน • ขีดเขียนโต๊ะเรียน • เปิดไฟโดยไม่จำเป็น • รับประทานอาหารในห้องเรียน • ไม่เก็บภาชนะเมื่อรับประทานอาหารเสร็จ • ไม่เดินชิดขวา • ทิ้งขยะผิดที่

  26. 9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้วิจัย : ครูระดับ ม. 2-4-5-6 ปัญหา : นร.ไม่สำรวม / ทำลายทรัพย์สิน รร. / มีเรื่องชู้สาว / ไม่ซื่อสัตย์ นวตกรรม : 4 กิจกรรมพัฒนาสู่ความเป็นผู้ประเสริฐ เครื่องมือ : แบบบันทึก / รายงาน / แบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง : นร. ม2-4-5-6 จำนวน 200 คน

  27. นิยาม คุณลักษณะ “ความเป็นผู้ประเสริฐ” 1. มีความสำรวม 2. รักษาทรัพย์สินของโรงเรียน 3. ไม่มีเรื่องชู้สาว 4. ซื่อสัตย์

  28. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สู่ความเป็นผู้ประเสริฐ หมั่นเคี่ยวเข็ญ เลี้ยวกลับมาบ่ม เน้นประสบการณ์จริง สิ่งดีทำได้ ไม่ต้องรอเดี๋ยว

  29. กิจกรรม หมั่นเคี่ยวเข็ญ • กำหนดแนวปฏิบัติเพื่อ ความสำรวมไม่ทำลายทรัพย์สิน รร.ไม่มีเรื่องชู้สาวไม่ซื่อสัตย์ • อบรมทุกชั่วโมงโฮมรูม • แต่งตั้งนักเรียนเป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล • สำรวจพฤติกรรมไม่สำรวม ทำลายทรัพย์สิน รร. มีเรื่องชู้สาว และไม่ซื่อสัตย์

  30. กิจกรรม - เน้นประสบการณ์จริง • กำหนดแนวปฏิบัติก่อนการไปทัศนศึกษาทุกครั้งเกี่ยวกับกริยา มรรยาท การแต่งกาย และความเคารพสถานที่ • แต่งตั้งผู้จัดการบุคคลบันทึกพฤติกรรมนักเรียนและรายงานเมื่อกลับจากทัศนศึกษา

  31. กิจกรรม : สิ่งดีทำได้ ไม่ต้องรอเดี๋ยว • มีการประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล นร.ที่ทำดี ให้ปรากฏต่อสาธารณะ • แต่งตั้ง นร. สำรวจและทำสถิติ นร.ทำดี และได้รับการประกาศเกียรติคุณในช่วง 2 เดือน

  32. กิจกรรม : เลี้ยวกลับมาบ่ม • ครูวิจัยติดตามผลการปฏิบัติ • ทำบันทึกการแนะนำ ตักเตือน • สังเกตพฤติกรรมหลังการตักเตือน

  33. แก้ปัญหา: นักเรียนไม่สำรวม...ทำลายทรัพย์สิน รร...มีเรื่องชู้สาว....ไม่ซื่อสัตย์ นวัตกรรม พบว่า นร.มีพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ ตรวจสอบ พฤติกรรม สู่ความเป็น ผู้ประเสริฐ อีกครั้ง • ใช้กิจกรรม 2 เดือน : • หมั่นเคี่ยวเข็ญ • เน้นประสบการณ์จริง • สิ่งดีทำได้ไม่รอเดี๋ยว • เลี้ยวกลับมาบ่ม 1 2 ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  34. สรุป เค้าโครงวิจัยและพัฒนาของ 8 กลุ่มสาระและกิจกรรมพัฒนาฯ ของ โรงเรียนศรีพฤฒา

  35. งานของครู คือการพัฒนานวัตกรรม นวัตกรรม สังเกต/ วัดลักษณะ วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน สังเกต/ วัดลักษณะ วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน/ ปัญหาการสอน อีกครั้ง X 1 สื่อ 2 โครงการ วิธีการใหม่ ๆ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

  36. จบการนำเสนอ เค้าโครงวิจัย

  37. เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.(2542) แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เล่ม 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมศาสนา. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน. เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ.(2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพร้าว. โรงเรียนศรีพฤฒา. (2546) พันธะสัญญา แผนกลยุทธโรงเรียนศรีพฤฒา 2546. http://ns.sts.ac.th/web สุพักตร์ พิบูลย์. (2548) แนวทางการทำวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ :วิจัยในชั้นเรียน 2548. http://school.obec.go.th/sriprueta/drsupak.ppt

  38. พบกันใหม่ เมื่อการพัฒนาลุล่วง

  39. สวัสดีค่ะ

More Related