1 / 22

แนวทางการการเป็นวิทยากรและพี่เลี้ยง (ครู ก.) ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

แนวทางการการเป็นวิทยากรและพี่เลี้ยง (ครู ก.) ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. ภก.ภาณุโชติ ทองยัง คณะทำงานจัดทำแนวทางการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. แนวคิด หลักการ. ไม่ใช่การย่อขนาดงาน อย./กรมวิทย์/สสจ / รพช.

louis
Download Presentation

แนวทางการการเป็นวิทยากรและพี่เลี้ยง (ครู ก.) ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการการเป็นวิทยากรและพี่เลี้ยง (ครู ก.) ในการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภก.ภาณุโชติ ทองยัง คณะทำงานจัดทำแนวทางการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  2. แนวคิด หลักการ • ไม่ใช่การย่อขนาดงาน อย./กรมวิทย์/สสจ / รพช. • ไม่ใช่การสั่งการให้ทำโดยพื้นที่ไม่มีส่วนร่วม • เชิงรุก เชื่อมโยง ชุมชน

  3. การคุ้มครองผู้บริโภค จะทำอะไร ?

  4. จะเฝ้าระวังอย่างไรได้ทัน ?

  5. กลุ่มไหน ใครเป็นเหยื่อ ?

  6. เด็กในชุมชนก็เป็นเหยื่อเด็กในชุมชนก็เป็นเหยื่อ เลนส์ตาโต (Big Eye) ครีมหน้าขาวมาทารักแร้ นัยน์ตาใสกิ๊ง

  7. การคุ้มครองผู้บริโภค จะทำเพื่อใคร ?

  8. ประชาชนในชุมชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์ สุขภาพต่างๆ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภค ภายใต้บริบทที่สำคัญ เชิงรุก เชื่อมโยง ชุมชน

  9. การคุ้มครองผู้บริโภค งานที่ไม่ใช่งาน ( เพราะมันคือการลดความเสี่ยง ของเราและคนในชุมชนของเราเอง )

  10. มุ่งเน้นรูปแบบการทำงานมุ่งเน้นรูปแบบการทำงาน “เชิงรุก” โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้องและจำเป็น เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพต่างๆเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงจากอันตรายต่างๆ จัดกระบวนการ “เชื่อมโยง” เพื่อให้ภาคีเครือข่าย/ประชาชน ในชุมชน มีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความเสี่ยงให้กับตนเอง - ครอบครัว – ไปจนถึง “ชุมชน” ในรูปแบบเครือข่าย องค์กรผู้บริโภคในชุมชน

  11. ผลลัพธ์ของงาน มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน) มีเครือข่ายผู้บริโภคที่เข้มแข็ง มีระบบเฝ้าระวังและบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เป้าหมายสุดท้าย ชุมชนมีความเข้มแข็ง และอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข

  12. การคุ้มครองผู้บริโภค จะทำอย่างไร ?

  13. แนวทางการดำเนินงาน 1. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล (พื้นฐาน-ผลงาน-วิชาการ) 2. การพัฒนาศักยภาพ (Empowerment) 2.1 ส่งเสริมและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชน 2.2 การพัฒนาสถานประกอบการในชุมชนให้ได้มาตรฐาน 3. การเฝ้าระวังและบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk management) 3.1 การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment) 3.2 การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) 3.3 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication)

  14. เครื่องมือ/ตัวช่วยในการปฏิบัติงาน

  15. เครื่องมือ/ตัวช่วยในการปฏิบัติงานเครื่องมือ/ตัวช่วยในการปฏิบัติงาน ชุดความรู้เบื้องต้น (ยา , อาหาร , สถานพยาบาล , ฉลาก , โฆษณา ฯลฯ) แบบฟอร์มต่างๆ(ทำเนียบ , สำรวจครัวเรือน-ชุมชน-เครือข่าย , ตรวจโฆษณา ) ชุดทดสอบเบื้องต้น (โดยการประสานงานในพื้นที่ในแต่ละกรณี) อสม. (หลักสูตร อสม.คุ้มครองผู้บริโภค) เภสัชกร (ปฐมภูมิ / รพ.ชุมชน) ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน (ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในจังหวัด)

  16. แนะนำการใช้คู่มือ • บทบาทของเภสัชกร • เอกสารประกอบการสอน • วัตถุประสงค์ • คำอธิบายเนื้อหา • รูปแบบและสื่อประกอบการสอน • CD (ไฟล์ Power point)

  17. เนื้อหา • หลักสูตร การอบรมเจ้าหน้าที่ รพ.สต. (การปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ) • แนวคิดและหลักการการดำเนินงาน คบส. ใน รพ.สต. • กฎหมายเบื้องต้นเกี่ยวกับการดำเนินงาน คบส. • การเฝ้าระวังฉลาก/โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพฯในชุมชน • ฝึกปฎิบัติการ

  18. ภาคผนวก • คำแนะนำในการจัดเวทีอบรมแบบมีส่วนร่วม • กรณีศึกษา • การเฝ้าระวังฉลากและโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ • เรื่องร้องทุกข์จากผลิตภัณฑ์ยา • เรื่องร้องทุกข์จากผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง • แบบฟอร์ม • แบบทดสอบการเป็นนักเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ที่น่าสงสัย • (ตัวอย่าง) บันทึกการรับเรื่องร้องเรียน • ตรวจสอบ 4 ข้อ ก่อนเชื่อโฆษณา

  19. การพัฒนาในอนาคต • ประเมินผลการใช้คู่มือ • เภสัชกร • เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน • พัฒนาคู่มือ • คบส. ใน รพ.สต. • คบส. ใน รพ.ชุมชน • พัฒนาคน • เครือข่ายการทำงาน คบส.

  20. เชื่อมั่นในศักยภาพและสิ่งดีงามที่เราจะได้ทำร่วมกันและขอขอบคุณแทนผู้บริโภคในชุมชนของเราทุกคนเชื่อมั่นในศักยภาพและสิ่งดีงามที่เราจะได้ทำร่วมกันและขอขอบคุณแทนผู้บริโภคในชุมชนของเราทุกคน

More Related