1 / 22

ระบบการสื่อสารข้อมูล ( Data Communication System )

1. ระบบการสื่อสารข้อมูล ( Data Communication System ). พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล ( Fundamental of Data Communications ). Overview. การสื่อสารข้อมูล กระบวนการสำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล สื่อสาร >> สื่อสารยังไง, วิธีการสื่อสาร ข้อมูล >> คำพูด, ข้อความ, เสียง. ผู้ส่ง ( Sender ).

louie
Download Presentation

ระบบการสื่อสารข้อมูล ( Data Communication System )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System) พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล (Fundamental of Data Communications)

  2. Overview • การสื่อสารข้อมูล • กระบวนการสำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูล • สื่อสาร >> สื่อสารยังไง, วิธีการสื่อสาร • ข้อมูล >> คำพูด, ข้อความ, เสียง ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver)

  3. นิยาม • การสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ คือการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล (Transmission)ระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ • โดยมีปัจจัยในการสื่อสารข้อมูล คือ : • คอมพิวเตอร์ (Computer) • ช่องทางการสื่อสาร (Transmission Media) • โปรแกรม (Software) • คน (People ware)

  4. รูปที่ 1 การสื่อสารข้อมูล

  5. องค์ประกอบระบบสื่อสารองค์ประกอบระบบสื่อสาร 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล และ ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล • อุปกรณ์รับและส่งอาจเป็นชนิดเดียวกัน มี 2 ชนิดคือ • DTE (Data Terminal Equipment)คือ อุปกรณ์สำหรับส่งข้อมูลเช่นคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ • DCE (Data Communication Equipment)คือ อุปกรณ์สำหรับทำการติดต่อ เช่น โมเด็ม จานดาวเทียม

  6. องค์ประกอบระบบสื่อสาร (ต่อ) 2.โปรโตคอล และ ซอฟต์แวร์ • โปรโตคอลคือ วิธีการ ข้อตกลงที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกัน • เช่น TCP/IP, IPx/SPx • ซอฟต์แวร์คือ โปรแกรมที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงานในการสื่อสารเป็นไปตามโปรแกรมที่วางไว้ • เช่น Unix, Windows NT

  7. องค์ประกอบระบบสื่อสาร (ต่อ) 3. ข่าวสาร (Message) • คือ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร • มี 4 รูปแบบ • เสียง การส่งจะส่งด้วยความเร็วต่ำ • ข้อมูล การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง • ข้อความ การส่งจะส่งด้วยความเร็วปานกลาง • ภาพ การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง

  8. องค์ประกอบระบบสื่อสาร (ต่อ) 4. สื่อกลาง (Media) • คือ เส้นทาง มี 4 รูปแบบ • เสียง การส่งจะส่งด้วยความเร็วต่ำ • ข้อมูล การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง • ข้อความ การส่งจะส่งด้วยความเร็วปานกลาง • ภาพ การส่งจะส่งด้วยความเร็วสูง

  9. มาตรฐานสากล • อุปกรณ์ของผู้ส่งและผู้รับจะต้องใช้ • วิธีการส่ง (Transmission) • การเชื่อมต่อ (Interface) • การเข้ารหัส (Encoding) • วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาด (Coding Error Detection ) Transmission, Interface, Encoding, Coding Error Detection International Standard ให้เป็นรูปแบบเดียวกัน หรือสามารถแปลงเป็นรูปแบบเดียวกัน

  10. มาตรฐานสากล (ต่อ) • ISO > The International Standards Organization • เป็นองค์กรพัฒนามาตรฐานสากลการสื่อสารข้อมูล • OSI Model > Open Systems Interconnection Model • CCITT > The Consultive Committee in International Telegraphy and Telephony • การสื่อสารข้อมูลผ่านระบบโทรคมนาคม • มาตรฐาน V ใช้สำหรับวงจรโทรศัพท์และโมเด็ม เช่น V.29, V.56, V.90 • มาตรฐาน X ใช้กับเครือข่ายข้อมูลสาธารณะ เช่น X.25 Packet Switched

  11. มาตรฐานสากล (ต่อ) IEEE > The Institute of Electric and Electronic Engineers • มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ Microprocessor /Electronic Device • IEEE 802.3 Ethernet EIA > Electronic Industries Association • กำหนดมาตรฐานทางอุตสาหกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์

  12. รหัสสากล • การแปลงอักขระ ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ จะอยู่ในรูปแบบสัญญาณพัลส์ไฟฟ้าหรือบิต แทน รหัส (code) • รหัสแอสกี • รหัสแอบซีดิก ( EBCDIC )

  13. รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์ ASCII Code > American Standard Code for Information Interchange • กำหนดโดย ANSI (American National Standard Institute) ประกอบด้วยรหัส 7 บิต + 1 พาริตี้บิต/1 อักขระ • ASCII > 128 ตัว • อักขระที่พิมพ์ได้ 96 ตัว > ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เช่น 100 0000 : P • อักขระควบคุม 32 ตัว > ใช้ในการควบคุมเครื่องพิมพ์ เช่น DEL : 111 1111

  14. ตารางรหัสแอสกี อักษร A ประกอบด้วย 100 0001 => 4116 => 65

  15. รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลคอมพิวเตอร์ • EBCDIC > Extended Binary Coded Decimal Interchange Code • พัฒนาโดย IBM • มีขนาด 256 ตัว • 8 บิต/อักขระ

  16. โครงข่ายการสื่อสารแบบต่างๆโครงข่ายการสื่อสารแบบต่างๆ • เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (Public Switched Telephone Network : PSTN) • เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) • สายคู่เช่า(Leased Lines) • โครงข่ายการเชื่อมโยงข้อมูลสาธารณะ (Public Switched Data Network : PSDN) • Integrated Services Digital Network (ISDN)

  17. เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ : Public Switched Telephone Network (PSTN) • การรับ-ส่งข่าวสารข้อมูลจะผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ • องค์ประกอบของ PSTN คือ • Station อุปกรณ์ต้นทางและปลายทาง • Modem อุปกรณ์แปลงสัญญาณ A/D และ D/A • Node ชุมสายโทรศัพท์ท้องถิ่น • เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ (PSTN)

  18. เครือข่ายท้องถิ่น: Local Area Networks (LAN) • ลักษณะของทั่วไปคือ • ออกแบบพื้นที่ในการจัดวางได้ • การจัดการแบบรวมศูนย์ • อัตราการรับส่งข้อมูลสูง

  19. สายคู่เช่า : Leased Line • เป็นระบบส่งสัญญาณแบบวงจรสวิตช์ (Circuit switching) • ลักษณะ คือ • ออกแบบมาเพื่อส่งสัญญาณดิจิตอลแทนอนาล็อก • จำนวนอุปกรณ์สื่อสารดิจิตอลมากขึ้น • ทนทานและยืดหยุ่น

  20. โครงข่ายการเชื่อมโยงข้อมูลสาธารณะ : Public Switched Data Network (PSDN) • ลักษณะ คือ • ออกแบบมาเน้นเพื่อส่งข้อมูลดิจิตอล • แชร์ข้อมูลร่วมกัน • เครือข่ายแบบนี้ ได้แก่ X.25 , Frame Relay, ATM

  21. Integrated Services Digital Network (ISDN) • เพื่อพัฒนาเครือข่ายดิจิตอลออกไปให้กว้างไกลทั่วโลก • การเชื่อมต่อทุกขั้นตอนจากผู้ใช้บริการไปยังชุมสายผู้ให้บริการ • สายสัญญาณที่เชื่อมต่อระหว่างชุมสาย และจากตู้ชุมสายไปถึงผู้รับใช้สัญญาณแบบดิจิตอลทั้งหมด

More Related