1 / 28

ลงทุนดี มีสุขใจ ได้มูลค่า Responsible Investors, Responsible Investing

ลงทุนดี มีสุขใจ ได้มูลค่า Responsible Investors, Responsible Investing. ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์ ศาสตราจารย์ในสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร ระดับ 11 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในระดับสากล. ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในระดับประเทศ.

lorin
Download Presentation

ลงทุนดี มีสุขใจ ได้มูลค่า Responsible Investors, Responsible Investing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ลงทุนดี มีสุขใจ ได้มูลค่าResponsible Investors, Responsible Investing ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์ ศาสตราจารย์ในสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร ระดับ 11 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในระดับสากลความสนใจที่เพิ่มขึ้นในระดับสากล

  3. ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในระดับประเทศความสนใจที่เพิ่มขึ้นในระดับประเทศ

  4. ความสำคัญโดยระดับเงินลงทุน*ความสำคัญโดยระดับเงินลงทุน* * Renneboog et al., 2008, Socially Responsible Investments: Institutional Aspects, Performance, and Investor Behavior, Journal of Banking and Finance 32, 1723-1742.

  5. จุดเริ่มต้นและมูลเหตุจูงใจจุดเริ่มต้นและมูลเหตุจูงใจ 1. การลงทุนเป็นการลงทุนโดยบุคคล หรือ เป็นการลงทุนโดยผู้ลงทุนกลุ่มสถาบัน ซึ่งลงทุนสำหรับบุคคล (Ultimate Investor) 2. ผู้ลงทุนกลุ่มสถาบันทำหน้าที่ตาม Fiduciary Duties • Duty of Care หรือ Duty of Prudence • Duty of Loyalty • Duty of Monitoring 3. การเป็น Rational Investorสำหรับบุคคล • Prefer More to Less • Risk Aversion คำถามสำคัญ ลักษณะเพียง 2 ประการเพียงพอสำหรับเป็นจุดตั้งต้นของการบริหารการลงทุน….แล้วหรือ?

  6. ผู้ลงทุนบุคคลเป็น “คน” ผู้ลงทุนบุคคลเป็น คน เมื่อเป็นคน คนต้องเป็น คนดี เมื่อเป็นคนดี คนดีต้อง ทำดี เมื่อทำดี การทำดีต้องทำดีใน ทุกๆ กิจกรรม ประเด็นสืบเนื่อง การลงทุนเป็นกิจกรรมที่สำคัญกิจกรรมหนึ่งของการดำเนินชีวิต เมื่อบุคคลใช้หลักการใด ความเชื่อใดในการกำกับการทำดีในของการดำเนินชีวิต บุคคลจึงสมควรใช้หลักการและความเชื่อเดียวกันนั้น เพื่อกำกับกิจการลงทุนด้วย มิใช่หรือ

  7. ข้อสังเกต การอ้างอิงลักษณะของ Rational Investor เป็นเงื่อนไขของการลงทุน เป็น การลงทุนแบบ Mainstream Investmentซึ่งให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับเงื่อนไขทางการเงิน (Financial Consideration) เช่น กำไร ยอดขาย ส่วนแบ่งตลาด และค่าใช้จ่าย เป็นต้นซึ่งจะนำไปสู่ความเสี่ยงทางการเงินและอัตราผลตอบแทนทางการเงิน Mainstream Investment สนใจน้อย เพิ่งเริ่มสนใจ หรือ ไม่สนใจเงื่อนไขอื่นที่มิใช่เงื่อนไขทางการเงิน (Non-FinancialConsiderations) ซึ่งรวมถึงหลักการและความเชื่อแห่งการทำดี ประเด็นปัญหา (1) การลงทุนจะนำหลักการและความเชื่อของการทำดีในการดำเนินชีวิต มาประยุกต์ใช้กับ การลงทุนได้อย่างไร >>> การลงทุนอย่างรับผิดชอบ (2) การประยุกต์ใช้จะมีผลกระทบ โดยเฉพาะในทางลบ หรือไม่ และอย่างไร >>> ผลการศึกษา ในเชิงประจักษ์สำหรับประเทศไทย

  8. นิยามการลงทุนอย่างรับผิดชอบนิยามการลงทุนอย่างรับผิดชอบ การลงทุนซึ่งพิจารณาประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและการกำกับดูแล (ESG Issues) ในฐานะ (1) ผู้ลงทุนซึ่งสนใจจะลงทุนในกิจการ ทำการเลือก คัดกรอง และบริหารการลงทุน (1) ผู้ลงทุนซึ่งเป็นเจ้าของกิจการ ทำการใช้สิทธิเพื่อผลักดันกิจการให้ดำเนินการด้าน ESG ในระดับที่สูงขึ้น ความเข้าใจที่ถูกต้อง การลงทุนอย่างรับผิดชอบ หรือ Ethical Investment หรือ Responsible Investment พิจารณาประเด็นอื่น นอกเหนือจากประเด็นด้านการเงินประกอบการลงทุน แต่มิได้หมายความว่า การลงทุนในรูปแบบทั่วไปซึ่งเป็น Mainstream Investment เป็นการลงทุนที่เป็น Unethical Investment หรือเป็น Irresponsible Investment

  9. เป้าหมายและปรัชญาของการลงทุนอย่างรับผิดชอบเป้าหมายและปรัชญาของการลงทุนอย่างรับผิดชอบ • การลงทุนควรได้รับการกำกับโดยหลักการและความเชื่อแห่งการทำดี • การลงทุนอย่างรับผิดชอบซึ่งพิจารณาประเด็น ESG มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับผลตอบแทนที่สูง อย่างยั่งยืนและในระยะยาว • การพิจารณาประเด็น ESG ย่อมทำให้ส่วนรวมดีขึ้น พร้อมๆ กับทำให้ผู้ลงทุนได้รับผลตอบแทนสูงขึ้นไปพร้อมๆ กัน

  10. การลงทุนอย่างรับผิดชอบ (SRI) และกิจการที่รับผิดชอบ (ESG-CSR) กิจการซึ่งสร้างมูลค่า (1) Value-Based Management (2) Corporate Governance (3) Corporate Social Responsibility เงินทุนและความเป็นเจ้าของ ผู้ลงทุนซึ่งคาดหวังมูลค่า (1) มูลค่ารูปตัวเงิน (2) มูลค่าที่มิใช่ตัวเงิน มูลค่า

  11. ผู้ลงทุนซึ่งคาดหวังมูลค่าผู้ลงทุนซึ่งคาดหวังมูลค่า • Value-Based Investors • “Feel-Good” Investors • Social Change Strategic Investors • Value Seeking Investors • Value Enhancing Investors หมายเหตุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อบรม เชาวน์เลิศ จะอธิบายในรายละเอียดในช่วง กลไก SRI ที่ให้ผลตอบแทนเกินปกติ

  12. Enterprise Governance Framework เพื่อการสร้างมูลค่าโดยกิจการ 1. Performanceคือการบริหารงานเพื่อ การสร้างมูลค่าสูงสุด (value-based management) 2. Conformanceคือ การกำกับดูแลกิจการ ที่ดี (good governance หรือ CG) 3. Responsibilityคือ การบริหารงานอย่าง แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (corporate social responsibility หรือ CSR)

  13. หลักการลงทุนอย่างรับผิดชอบตามแนวทาง United NationsUN Principles for Responsible Investment แนวทาง 3 P’sของการประยุกต์ใช้ UN PRI • Principled (Behavior) • Pragmatic • Practical หมายเหตุUN PRI มุ่งกิจกรรมไปที่ผู้ลงทุนสถาบัน โดยเฉพาะกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและบริษัทประกันชีวิต เพราะ ผู้ลงทุนเป็นผู้ลงทุนระยะยาว และมี Ultimate Investors ซึ่งให้ความสำคัญอย่างยิ่งแก่ ESG Issues

  14. หลักการลงทุนอย่างรับผิดชอบตามแนวทาง United Nations

  15. การปฏิบัติ • Passive Approach • Negative Screen • Positive Screen, Best in Class • Active Approach • Engagement • Lobbying • Shareholder Activism • Class Action

  16. SRI Screens and Types (1)

  17. SRI Screens and Types (2) หมายเหตุ การลงทุนอาจใช้เกณฑ์การคัดกรองที่ต่างกันได้ ขึ้นกับเงื่อนไขและประเด็น ความสำคัญซึ่งผู้ลงทุนแต่ละกลุ่มให้ นอกจากนั้น เกณฑ์อาจใช้ระดับ ความเข้มข้น แทนได้ด้วย

  18. ESG Issues สำหรับ Engagement และ Activism • ปัจจุบันยังไม่มีข้อยุติถึง Guidelines ซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน แต่ Guidelines ที่มีการอ้างอิงถึงมาก ได้แก่ • ร่างCOSO 26000 Guidance on Responsibility • OECD Guidelines for Multinational Enterprises • UN Global Compact Principles หมายเหตุ ผู้ลงทุนสถาบันของไทยเช่น กบข. ประยุกต์ใช้เกณฑ์ของ OECD ร่วมกับของ UN อย่างไรก็ตาม สาระที่ Guidelines เหล่านี้เน้นจะมีประเด็นร่วมและสอดคล้องกัน

  19. ภาพรวมของร่าง ISO 26000 Guidance on Responsibility The ISO Seven Core Subjects of Social Responsibility หมายเหตุ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุทธาสินี จะอธิบายในรายละเอียด ในช่วง กลไก CSR ที่สร้างมูลค่าให้กิจการ

  20. ประเด็นศึกษาสำหรับการลงทุนแบบ SRI ในประเทศไทย ความกังวลการลงทุนมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ได้รับอัตราผลตอบแทนสูง เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง การลงทุนแบบ SRI กำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึ่งอาจส่งผลให้ (1) ผู้ลงทุนไม่สามารถลงทุนในกิจการที่ให้ผลตอบแทนที่ดี (2) การกระจายความเสี่ยงด้อยลง (3) Financial Performance ซึ่งชี้โดย Risk-Adjusted Returnมีระดับต่ำลง หมายเหตุ ดร.ศุภกร สุนทรกิจ จะอธิบายในรายละเอียดในช่วง การลงทุนแบบ SRI ในทางปฏิบัติโดยผู้ลงทุนสถาบัน

  21. การศึกษาเชิงประจักษ์ของประเทศไทย*การศึกษาเชิงประจักษ์ของประเทศไทย* การลงทุนภายใต้หลักศาสนาอิสลาม การลงทุนทำการคัดกรองกิจการโดยพิจารณาว่าจะต้องไม่ทำธุรกิจที่ต้องห้ามหรือดำเนินธุรกรรมที่ขัดกับหลักศาสนา ธุรกิจที่ถือเป็นธุรกิจที่ต้องห้ามได้แก่ธุรกิจการเงินและการธนาคาร การค้าผลิตภัณฑ์จากสุกร ยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ สื่อลามก การค้ายาเสพติดและการค้าบริการทางเพศ เป็นต้น *อัญญา ขันธวิทย์. 2551. ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญเมื่อพิจารณาประเด็นสังคมและ สิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาจากการลงทุนของกองทุนรวมภายใต้หลักศาสนาอิสลาม. รายงานวิจัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.

  22. การศึกษาเชิงประจักษ์ของประเทศไทยการศึกษาเชิงประจักษ์ของประเทศไทย การลงทุนภายใต้หลักศาสนาอิสลาม (ต่อ) ธุรกรรมที่ต้องห้ามมีกำหนดไว้อย่างน้อย 2 ประเภท คือ (1) ธุรกรรมซึ่งได้มาซึ่งผลตอบแทนรูปดอกเบี้ย (2) การสร้างผลตอบแทนระยะสั้นในลักษณะการเก็งกำไร กิจการที่เป็นเป้าหมายการลงทุนจะต้องดำรงฐานะทางการเงินให้ตัวชี้วัด ได้แก่ อัตราส่วนหนี้สิน สัดส่วนรายได้ดอกเบี้ย และสัดส่วนการถือครองสินทรัพย์หมุนเวียน เช่น เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ หลักทรัพย์ ไม่ให้มีระดับสูงกว่าที่กำหนดไว้ เป็นต้น การลงทุนจะมีคณะกรรมการศาสนา ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศาสนาอิสลามเพื่อให้คำปรึกษาในเรื่องหลักเกณฑ์การลงทุนตามหลักของศาสนาอิสลาม

  23. ประเด็นที่ศึกษา • การลงทุนมีลักษณะเด่นที่เป็น Negative Screenและมีเกณฑ์เลือกกิจการที่ไม่ได้ต้องห้ามทางหลักศาสนาและส่งเสริมสังคมที่ดี ซึ่งทฤษฎีชี้ว่าเป็น Drivers ของการลดความเสี่ยง และการสร้างมูลค่าแก่กิจการ • แต่การลงทุนมีข้อจำกัด ซึ่งอาจทำให้ Risk-Adjusted Returnด้อยลง

  24. ตัวอย่างที่ศึกษา กลุ่มหลักทรัพย์ที่ศึกษา • MFC Islamic Index Portfolio (ไม่รวมเงินปันผล) • หุ้นสามัญจดทะเบียนในกองทุนเปิดเอ็มเอฟซี อิสลามิก ฟันด์ และกองทุนเปิดกรุงไทยชาริอะฮ์ ลงทุน (รวมเงินปันผล และมีโครงสร้างทั้ง Equally- Weighted และ Value-Weighted) ระยะเวลาที่ศึกษา • อัตราผลตอบแทนรายเดือนตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2544 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2550

  25. วิธีการศึกษาหลัก การใช้ Jensen Alpha เป็นตัวชี้วัด การใช้ Adjusted Jensen Alpha เป็นตัวชี้วัด

  26. ผลการศึกษา MFC Islamic Index Portfolioอ้างอิงกับดัชนี SET Index (ไม่รวมเงินปันผล)

  27. ผลการศึกษาหุ้นสามัญจดทะเบียนที่กองทุนเลือกอ้างอิงกับดัชนี SET Total Return Index (รวมเงินปันผลแล้ว)

  28. สรุป การถาม ตอบและอภิปราย ศาสตราจารย์ ดร.อัญญา ขันธวิทย์ ศาสตราจารย์ในสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร ระดับ 11 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

More Related