1 / 43

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และการโปรแกรม

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และการโปรแกรม. โดย รองศาสตราจารย์ธีรวัฒน์ ประกอบผล. คำถาม. อยากเป็นนักเขียนโปรแกรมจะเรียนอะไรดี รุ่นใหม่ออกแล้ว คุณเปลี่ยนหรือยัง จะใช้คอมพิวเตอร์ในชุมชนของเรา ใช้อะไรดี. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์. Hardware Software People Data. โครงสร้างคอมพิวเตอร์.

lorie
Download Presentation

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และการโปรแกรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และการโปรแกรม • โดย รองศาสตราจารย์ธีรวัฒน์ ประกอบผล

  2. คำถาม • อยากเป็นนักเขียนโปรแกรมจะเรียนอะไรดี • รุ่นใหม่ออกแล้ว คุณเปลี่ยนหรือยัง • จะใช้คอมพิวเตอร์ในชุมชนของเรา ใช้อะไรดี

  3. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ • Hardware • Software • People • Data

  4. โครงสร้างคอมพิวเตอร์ • หน่วยประมวลผลกลาง • หน่วยความจำหลัก • หน่วยความจำสำรอง • พอร์ตอินพุต • พอร์ตเอาต์พุต

  5. รหัสคอมพิวเตอร์ • รหัสเลขฐานสอง • รหัสแอสกี่ (ASCII) • รหัส BCD วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดจะใช้วิธีการตรวจสอบพาริตี้ (Parity)

  6. ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ • Hardware • BIOS • ระบบปฎิบัติการ (Operating System) • โปรแกรม

  7. ประเภทของโปรแกรม • โปรแกรมระบบปฎิบัติการ • โปรแกรมเอนกประสงค์ • โปรแกรมประยุกต์

  8. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1. วิเคราะห์และการกำหนดคุณสมบัติของปัญหา 2. การออกแบบระบบ 3. การเขียนและการรวมชุดคำสั่ง 4. การทบทวนและการทดสอบ 5. การซ่อมบำรุงโปรแกรม

  9. โปรแกรมภาษา • ภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) • ภาษาระดับสูง (High-level Language) โปรแกรมต้นฉบับ แปรภาษา รหัสภาษาเครื่อง

  10. ภาษาปาสคาล (Pascal) • เป็นแบบ Compiler • เป็นภาษากลางในการสอนคอมพิวเตอร์ • เป็นภาษาแบบโครงสร้าง

  11. ลักษณะภาษาปาสคาล PROGRAM name; USES CONST TYPE VAR PROCEDURE OR FUNCTION BEGIN END.

  12. ตัวอย่างที่ 1 PROGRAM TEST1; BEGIN WRITELN(‘COMPUTER’); WRITELN(‘I LOVE YOU ‘); END.

  13. ตัวอย่างที่ 2 PROGRAM TEST1; USES CRT; VAR A : INTEGER; BEGIN A := 5; WRITELN(A); WRITELN(‘NUMBER = ‘,A) WRITELN(‘NUMBER = ‘,A+2); END.

  14. การประกาศค่าคงที่ CONST ตัวระบุ = ค่าคงที่ EX….. WORKINGDAYS = 5; PI = 3.14159;

  15. การประกาศตัวแปร VAR ตัวระบุ : ชนิดของข้อมูล EX…. X : Char; A,B : INTEGER; C : Real;

  16. คำสงวน (Reserved Word) AND DO MOD PROCEDURE TO ARRAY TYPE ELSE GOTO FUNCTION BEGIN UNTIL END IF OR NOT THEN VAR อื่น ๆ อีกมากมาย

  17. ชนิดของข้อมูล 1. ข้อมูลเชิงเดี่ยว (Simple-type data) 1.1 ชนิดมาตรฐาน (Standard data types) 1.2 ผู้ใช้กำหนดเอง (uses define ordinal types) 2. ข้อมูลแบบชนิดโครงสร้าง (Structure-type data) 3. ข้อมูลตัวชี้

  18. ข้อมูลเชิงเดี่ยวชนิดมาตรฐานข้อมูลเชิงเดี่ยวชนิดมาตรฐาน 1. จำนวนเต็ม (Integer) 2. จำนวนจริง (Real) 3. ตัวอักขระ (Char) 4. บูลีน (Boolean)

  19. การใช้งานหน่วยความจำของข้อมูลการใช้งานหน่วยความจำของข้อมูล • Integer 2 ไบต์ -32768…..32767 • Real 6 ไบต์ 2.9 E-39 ….1.7 E +38 • Char 1 ไบต์ • Boolean 1 ไบต์

  20. การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่ VAR MONTH : (JAN,FEB,MAR,APR,MAY,JUN,JUL,AUG,SEP,OCT, NOV,DEC); COLOR : (RED,YELLOW,BLUE); MONTH := MAY; COLOR := YELLOW;

  21. โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไขโครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข • โครงสร้างแบบลำดับ (Sequence Structure) • โครงสร้างแบบเลือก (Selection Structure) • โครงสร้างแบบกรณี (Case structure) • โครงสร้างแบบซ้ำเมื่อเงือนไขเป็นจริง (Do While Structure) • โครงสร้างแบบซ้ำจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง (Do Until Structure)

  22. โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง X อ้าปาก คำสั่ง Y ตักข้าว คำสั่ง Z เคี้ยวข้าว

  23. โครงสร้างแบบทางเลือก T F เงื่อนไข IF นิพจน์ THEN ชุดคำสั่ง A ELSE ชุดคำสั่ง B คำสั่ง A คำสั่ง B

  24. โครงสร้างแบบทางเลือกทางเดียวโครงสร้างแบบทางเลือกทางเดียว T F เงื่อนไข IF นิพจน์ THEN ชุดคำสั่ง A คำสั่งต่อไป คำสั่ง A

  25. โครงสร้างแบบกรณี (Case Structure) T F เงื่อนไข คำสั่ง A คำสั่ง B

  26. โครงสร้างแบบซ้ำขณะที่เงื่อนไปจริง (Do While) คำสั่ง A T เงื่อนไข F

  27. โครงสร้างแบบทำซ้ำจนเงื่อนไขเป็นจริง (Do Until) คำสั่ง A F เงื่อนไข T

  28. เครื่องหมายเปรียบเทียบ (Relational Operator)

  29. เครื่องหมายเปรียบเทียบทางตรรกะมีอยู่ 4 ตัวคือ not and or xor

  30. คำสั่ง Case รูปแบบ case Selector Of Constant_1 : Statement_1 ; Constant_2 : Statement_2; …….. …….. Constant_n : Statement_n; else Default_Statement; end;

  31. ตัวอย่าง Readln(MonthNo); if (MonthNo < 0) or (MonthNo > 12) then Writeln(‘Invalid month number’) else Begin Write(‘Month name is ‘); Case MonthNo of 1 : Writeln(‘January ‘); …… End; {end case) End;

  32. ตัวอย่าง Readln(Score); If (Score >= 0) and (Score <= 100) Then Begin Case Score Of 90..100 : Grade := ‘A’; 80..89 : Grade := ‘B’; 70..79 : Grade := ‘C’; 60..69 : Grade := ‘D’; else Grade := ‘F’ End;

  33. ลูป For ใช้ในการทำซ้ำที่มีจำนวนครั้งในการทำแน่นอน มีรูปแบบดังนี้ For Control_value := Initial_value To Final_value Do Statement; Control_value ต้องเป็นตัวแปรแบบลำดับ

  34. ตัวอย่าง • For I := 1 TO 5 Do Write(I); • For I := 1 To 12 DO Writeln(‘2 x’,I,’ = ‘,2*I); • VAR ch : Char; BEGIN For ch := ‘A’ To ‘Z’ Do Write(ch);

  35. ตัวอย่าง PROGRAM TEST; VAR I , J : Integer; BEGIN FOR I := 1 TO 2 DO FOR J := 1 TO 3 DO WRITELN(I:4 , J:4); END.

  36. ตัวอย่าง VAR X , Y : INTEGER; BEGIN FOR X := 2 TO 8 DO BEGIN FOR Y := 1 TO 12 DO WRITELN(X,’ x ’,Y,’ = ‘,X*Y); READLN; END; END.

  37. ลูป Repeat (Repeat Statement) ตรวจสอบเงื่อนไขหลังการทำงาน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงการทำซ้ำจะ สิ้นสุดลง และโปรแกรมจะไปทำงานคำสั่งหลัง Until รูปแบบ REPEAT การทำงาน UNTIL เงื่อนไขจบการวนซ้ำ

  38. ตัวอย่าง VAR Count : Integer; BEGIN Count := 0; REPEAT WriteLn(‘ I Love You ‘); Count := Count + 1; UNTIL Count = 5; END.

  39. ตัวอย่าง VAR Ch : Char; BEGIN Ch := ‘A’; REPEAT Write(Ch); Ch := Succ(Ch); {หาค่าที่อยู่ถัดมา} UNTIL Ch > ‘Z’; END.

  40. ลูป WHILE (While Statement) ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการทำงาน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงการทำซ้ำภาย ในลูป แต่ถ้าเป็นเท็จโปรแกรมจะไปทำงานคำสั่งถัดไป รูปแบบ WHILE นิพจน์บูลีน DO การทำงาน คำสั่งต่อไป

  41. ตัวอย่าง VAR Count : Integer; BEGIN Count := 1; WHILE Count <= 5 DO BEGIN WriteLn(‘I Love YOU HA HA ’); Count := Count + 1; END; END.

  42. VAR Choice : Integer; BEGIN WriteLn(‘ Number Processing ‘); WriteLn(‘1.. ADD ‘); WriteLn(‘2.. SUB ‘); WriteLn(‘3.. MUL ‘); WriteLn(‘4.. DIV ‘); Write(‘ Select (1,2,3,4) ‘); ReadLn(Choice); WHILE (Choice <0 ) OR (Choice > 4) DO BEGIN Write(‘Select (1,2,3,4) ‘); ReadLn(Choice); END; ……. ……. END. ตัวอย่าง

  43. แบบฝึกหัด 1. จงเขียนโปรแกรมหาค่าผลบวกของเลข 1 ถึง 300 2. จงเขียนโปรแกรมหาค่าผลบวกของเลข 1 ถึง 300 ที่หารด้วย 3 หรือ 5 ลงตัว 3. จงเขียนโปรแกรมรับค่าตัวเลข 10 ค่า และให้เครื่องบอกว่าค่าสูงสุดและต่ำสุดคือค่าใด 4. จากสมการ Y = 3X2 + 8X + 1 จงหาค่า Y เมื่อ X มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 10 5. เส้นลวดยาว 400 เมตร ถ้าหากต้องการล้อมเป็นสี่เหลี่ยมจะได้พื้นที่สูงสุดเท่าใด 6. จากข้อ 4 จงหาพื้นที่ระหว่างกราฟ Y กับแกน X 7. จงสร้างปัญหาเองและหาวีธีการแก้ปัญหาเอง

More Related