1 / 38

การให้ความร่วมมือทางวิชาการ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน

การให้ความร่วมมือทางวิชาการ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน. สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ. กระทรวงการต่างประเทศ. 2 มิถุนายน 2553. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทย (Official Development Assistance-ODA)  ความร่วมมือทางการเงิน (Soft Loan)  ความร่วมมือทางวิชาการ

loki
Download Presentation

การให้ความร่วมมือทางวิชาการ แก่ประเทศเพื่อนบ้าน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศเพื่อนบ้านการให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศเพื่อนบ้าน สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ 2 มิถุนายน2553

  2. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทยความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทย (Official Development Assistance-ODA)  ความร่วมมือทางการเงิน(Soft Loan)  ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)

  3. หน่วยงานดำเนินงาน ความร่วมมือทางการเงิน (Soft Loan) -สนง.พัฒนาเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้าน - สพพ. Neighboring Countries Economic Development Agency - NEDA  ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation) - สนง.ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ – สพร. Thailand International Development Cooperation Agency - TICA

  4. ภารกิจหลักในการบริหารงานความร่วมมือฯ ของ สพร. • ให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาต่างๆ • หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบความร่วมมือและความตกลงระหว่างประเทศทั้งในระดับ ทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี

  5. ภารกิจหลักในการบริหารงานความร่วมมือฯ ของ สพร. • พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ • อำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา

  6. นโยบายการให้ความร่วมมือทางวิชาการของ สพร. • ที่มาของนโยบาย

  7. มติ ครม. นโยบายรัฐบาล ด้านการต่างประเทศ/ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ตาม กรอบความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ คณะกรรมการนโยบาย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับต่างประเทศ นโยบายของ ประเทศคู่ร่วมมือ ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา

  8. นโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนานโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม • ส่งเสริมการค้าการลงทุนของไทย • ส่งเสริมโอกาสการพัฒนาขีดความสามารถเชิงวิชาการของหน่วยงานไทย • แลกเปลี่ยนความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ วิชาการ • ความร่วมมือระหว่างสถาบัน ไทย - ต่างประเทศ

  9. กลไกการดำเนินงานความร่วมมือฯกับประเทศเพื่อนบ้านกลไกการดำเนินงานความร่วมมือฯกับประเทศเพื่อนบ้าน • การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือ (Joint Commission) • การประชุมความร่วมมือวิชาการประจำปี (Annual Consultation)

  10. แนวทางการดำเนินงานการให้ความร่วมมือแนวทางการดำเนินงานการให้ความร่วมมือ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และพัฒนาสถาบัน • สนับสนุนการดำเนินงานในรูปแผนงาน/โครงการให้เกิดผลเป็นรูปธรรม • พัฒนาความร่วมมือลักษณะหุ้นส่วน - แหล่งผู้ให้ : Partnership, Trilateral - ประเทศคู่ร่วมมือ : พัฒนาไปด้วยกัน

  11. แนวทางการดำเนินงานการให้ความร่วมมือ • คำนึงถึงความสามารถและความต้องการเร่งด่วนของประเทศคู่ร่วมมือ • ประโยชน์ร่วมกันทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายประเทศคู่ร่วมมือ

  12. ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ พ.ศ.2550-2554 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารายประเทศ (CLMV) และภายใต้กรอบ ACMECS พ.ศ. 2551-2554 ร่างยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย - แอฟริกา และไทย - เอเชียกลาง พ.ศ. 2552-2554

  13. ประเภทของความร่วมมือเพื่อการพัฒนาประเภทของความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ผู้เชี่ยวชาญ • ทุนศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงาน • วัสดุ/อุปกรณ์ • อาสาสมัครเพื่อนไทย(Friend from Thailand)

  14. รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ความร่วมมือแบบทวิภาคี (Bilateral Programme - แผนงาน (Country Program) - โครงการเต็มรูป • หลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติประจำปี (Annual International Training Courses: AITC)

  15. รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 3. หลักสูตรศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตรนานาชาติประจำปี (Thai International Postgraduate Programme: TIPP) 4. ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา (Technical Cooperation among developing Countries: TCDC) 5. ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประแทศจัดหลักสูตรศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานในประเทศไทย (Third Country Training Programme: TCTP)

  16. 6. สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • เกษตรและพัฒนาชนบท • ศึกษา • สาธารณสุข • ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน

  17. 6. สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • พัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน • ส่งเสริมการท่องเที่ยว

  18. ความร่วมมือกับกลุ่มประเทศเป้าหมายในภูมิภาคต่างๆความร่วมมือกับกลุ่มประเทศเป้าหมายในภูมิภาคต่างๆ • กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน • กลุ่มประเทศในเอเชียและแปซิฟิก • กลุ่มประเทศแอฟริกา • กลุ่มประเทศลาตินอเมริกาและแคริบเบียน • กลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง

  19. กลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาคกลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาค • กลุ่มประเทศยากจน • กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจค่อนข้างดี และใกล้เคียงกับไทย หรือดีกว่า

  20. กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า • กลุ่มประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกับไทย ได้แก่ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน • ประเทศเกิดใหม่ในภูมิภาค คือ ติมอร์ เลสเต้

  21. รูปแบบของความร่วมมือฯรูปแบบของความร่วมมือฯ กลุ่มประเทศยากจน - ไทย เป็น ผู้ให้ - ไทย ร่วมกับแหล่งผู้ให้อื่น กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจดี ใกล้เคียงกับไทย หรือ ดีกว่า - ร่วมกันออกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานร่วมกัน

  22. Colombo Plan MGC ACMECS ASEAN GMS IMT-GT BIMST-EC กรอบความร่วมมือที่สำคัญ

  23. เหตุผลของการให้ความร่วมมือเหตุผลของการให้ความร่วมมือ • พันธะต่อประชาคมโลก - ประเทศที่มีความพร้อมและเข้มแข็งช่วยเหลือประเทศที่ยังขาดแคลนและยากจน - ข้อผูกพันต่อการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ

  24. เหตุผลของการให้ความร่วมมือเหตุผลของการให้ความร่วมมือ • การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามแนวชายแดน • แก้ไขวิกฤติและลดปัญหาความยากจนของประเทศที่กำลังพัฒนา

  25. ประโยชน์ ที่ไทยได้รับจากการให้ความร่วมมือฯ • ส่งเสริมบทบาทของไทยในภูมิภาคต่างๆ • ความไว้วางใจและความเชื่อมั่นที่มีต่อไทย • เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ และความมั่นคง

  26. ประโยชน์ ที่ไทยได้รับจากการให้ความร่วมมือฯ • การยอมรับจากประชาคมนานาชาติ • การสร้างเครือข่ายมนุษย์ระหว่างกัน

  27. ความร่วมมือฯ ไทย กับ CLMV มูลค่าความร่วมมือฯ ในปี 2552 207.89 ล้านบาท ปี 2553 127 ล้านบาท • ความร่วมมือในกรอบทวิภาคี • โครงการตามพระราชดำริ • ความร่วมมือในกรอบไตรภาคี • ความร่วมมือในกรอบ ACMECS, GMS

  28. ความร่วมมือฯ ไทย กับ CLMV • ทุนศึกษา ทุนฝึกอบรม/ดูงาน ปี 2552 162 609 ปี 2553 150 300 โครงการพัฒนา 42 โครงการ

  29. 1. แผนงาน - แผนเงิน 2. ต่างคนต่างทำ 3. Absorptive Capacity ปัญหา/ อุปสรรค

  30. งบอุดหนุนงานให้ความร่วมมือฯงบอุดหนุนงานให้ความร่วมมือฯ ล้านบาท 900 810 ขอจัดสรร 800 ได้รับอนุมัติ 700 581 543 547 600 511 509 480 468 500 422 370 345 400 296 280 300 235 162 147 200 100 0 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

  31. การดำเนินงานในอนาคต

  32. “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา

  33. แผนงาน -แผนงานความร่วมมือด้านการศึกษา ไทย-ลาว -แผนงานความร่วมมือไทย-เวียดนามประสานแผนงาน/กิจกรรมPublic - Private Partnership

  34. กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV) • โครงการพัฒนาโรงพยาบาลแขวงบ่อแก้ว

  35. โครงการพัฒนาระบบสาธารณสุขในเขตโพนโฮงโครงการพัฒนาระบบสาธารณสุขในเขตโพนโฮง

  36. โครงการทักษะฝีมือแรงงาน - กัมพูชา

  37. โครงการสอนภาษาไทยในเวียดนามโครงการสอนภาษาไทยในเวียดนาม

  38. ขอบคุณ

More Related