1 / 17

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัว

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัว. ภาคีเครือข่ายหลัก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อม. บทบาทหน้าที่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 1.เป็นแกนนำหลักในการดำเนินงาน ระดับพื้นที่

lisle
Download Presentation

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัวตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักอห่งครอบครัว

  2. ภาคีเครือข่ายหลัก • กระทรวงสาธารณสุข • กระทรวงมหาดไทย • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • กระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อม

  3. บทบาทหน้าที่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 1.เป็นแกนนำหลักในการดำเนินงาน ระดับพื้นที่ เพื่อจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ฯ 2.เป็นศูนย์ประสาน กำกับ ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงาน 3. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 4. สนับสนุนทรัพยากร อันได้แก่ งบประมาณ บุคลากร ในการดำเนินงาน 5. ผลักดันพื้นที่เป้าหมาย เป็นแหล่งเรียนรู้ตำบลนมแม่ฯ

  4. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 1. พัฒนาศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้ 2. พัฒนาคุณภาพบริการอนามัยแม่และเด็ก ให้สถานบริการสาธารรศุขทุกระดับ 3. ผลักดัน รพ.สต.ให้เป็นรพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว 4. สนับสนุนชุดคู่มือ ความรู้ สื่อ การดำเนินงาน 5. พัฒนาอสม. / จิตอาสา เป็น ปราชญ์ นมแม่ 6. ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย เพื่อบูรณาการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 7. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ ตำบลนมแม่ฯ

  5. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • 1. สนับสนุนให้ครอบครัวดำเนินชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • จัดทำบัญชีครัวเรือน • 2. สนับสนุนพันธ์พืช ผัก สัตว์ เลี้ยง เพื่อให้ครอบครัว • มีอาหารเพียงพอ • 3. ร่วมบูรณาการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กด้วยการ • ร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ • 4. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ • ตำบลนมแม่ฯ

  6. กระทรวงศึกษาธิการ 1.เป็นหน่วยงานหลักในการนำองค์ความรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสมเข้าสู่สถานศึกษา 2. สนับสนุนให้มีการจัดทำแผนการเรียนการสอน ในสถานศึกษาทุกระดับ 3. สนับสนุนให้แต่ละสถานศึกษา มีการอบรมดีเจ น้อยนมแม่ และให้เป็นนักจัดรายการวิทยุชุมชน 4. ร่วมบูรณาการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กด้วยการ ร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ 5. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ ตำบลนมแม่ฯ

  7. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อม 1. สนับสนุนให้ครอบครัวมีการจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน และชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ 2. ผลักดันให้ชุมชน ท้องถิ่นจัดทำแผนจัดการสิ่งแวดล้อม ภายในบ้าน และชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ 3. ร่วมบูรณาการพัฒนาอนามัยแม่และเด็กด้วยการ ร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ 4. ร่วมกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ ตำบลนมแม่ฯ

  8. กรอบแนวคิดโครงการ“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”กรอบแนวคิดโครงการ“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” เด็กแข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดี มีความสุข • สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ • - เทศบาล/อบต. • นมแม่ต้นแบบ • รพ.สต.:โรงเรียน • นมแม่ • ศูนย์เด็กเล็ก • น่าอยู่คู่นมแม่ • สถานประกอบ • กิจการนมแม่ • รพ.สายใยรักฯ • ระดับทอง • - กองทุนนมแม่ • - ธนาคารนมแม่ • แกนนำชุมชน • นมแม่ พฤติกรรม ดีขึ้น มีลูกอายุ 20-35 ปี. ฝากท้องเร็ว.กินนมแม่. ครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่/เล่า/อ่านนิทาน/เล่น. • ทุนสังคม • - มาตรการสังคม • ครอบครัว • ต้นแบนมแม่ • ปราชญ์ อสม. • - แกนนำ.นมแม่ • ดีเจน้อย/ยุวฑูต • ผู้มีจิตอาสา • ชมรมต่างๆ • ภูมิปัญญา • ท้องถิ่น • - วัด ชุมชน ท้องถิ่น ศูนย์ประสาน ขับเคลื่อน ประชาชน ครอบครัวอบอุ่น มีความรัก นมแม่...คือสายใยรักแห่งครอบครัว หน่วยงาน ราชการ ผู้สนับสนุนที่ดี • ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อน • กระทรวงสาธารณสุข 2. มูลนิธิศูนย์นมแม่ • 3.กระทรวงแรงงาน 4. กระทรวงพัฒนาสังคมฯ • 5.กระทรวงมหาดไทย 6. กระทรวงศึกษาธิการ • 7.กระทรวงเกษตรฯ 8.กระทรวงวัฒนธรรม

  9. เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวเกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ( ต้องผ่านทุกข้อ) • ชุมชนมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังเพื่อการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ชุมชนประกาศกติกาสังคมเพื่อการ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็น ร้อยละ 40 • มีกรรมการ/คณะทำงานในการดำเนินงานของตำบล • มีกองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านสวัสดิการและความเป็นอยู่ • ของครอบครัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

  10. กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ • ร่วมสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ฯ • 1.1 สำรวจข้อมูลแม่และเด็ก และจัดทำแผนที่เดินดิน • 1.2 เพิ่มพูนความรู้เรื่องนมแม่ “นมแม่ไม่ใช่แค่อาหาร • แต่คือรากฐานสร้างชีวิตคน” • ให้สมาชิกทุกคนในตำบลได้รับทราบ • 1.3 ระดมความคิด กำหนดจุดหมายปลายทางของตำบลนมแม่ฯ • 1.4 ร่วมสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการตำบลนมแม่ฯ • 1.5 ประชาคมตำบลนมแม่ฯ และมอบหมายผู้รับผิดชอบ • แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ 12

  11. กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ • 2. ขับเคลื่อนตำบลนมแม่ด้วยมาตรการทางสังคม : ข้อตกลงที่ชาวบ้าน • ร่วมกันสร้างและปฏิบัติ • เช่น - แม่ควรมีลูกเมื่ออายุ 20-35 ปี • - หญิงตั้งครรภ์ ควรฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ • ตามเกณฑ์ • เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนและเลี้ยงนมแม่ควบคู่อาหารเสริมตามวัยจนลูกอายุ ครบ 2 ปี หรือมากกว่า • ร้านค้าในหมู่บ้าน /ชุมชน ไม่จำหน่ายนมผงสำหรับเด็กแรกเกิด – 1 ปี • ครอบครัวที่มีลูกอายุ 0-5 ปี มีหนังสือนิทาน เล่านิทาน และเล่นกับลูก 13

  12. กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ 3. สื่อสารสังคมด้วยสื่อท้องถิ่น “ตำบลนมแม่ฯ” 3.1จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 3.2 ดีเจน้อย วิทยุชุมชน เสียงตามสาย 3.3 รถประชาสัมพันธ์ / รถยนต์ /จักยาน / สามล้อ ฯลฯ 3.4 ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพลงพื้นบ้าน / หมอลำ 3.5 จัดทำ เว็บไซต์ ตำบลนมแม่ 14

  13. กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ 4. สร้างความรู้ ‘เรื่องนมแม่’ 4.1จัดทำแผนการสอน “นมแม่ ”ให้เด็กประถม มัธยมศึกษา ในตำบล 4.2 อบรมดีเจน้อย เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 4.3 อบรม อสม. นมแม่ 4.4 อบรมปราชญ์ นมแม่ 4.5 อบรมบุคลากรท้องถิ่น / แกนนำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เรื่อง นมแม่ 4.6 อบรมพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ในชุมชน เรื่องนมแม่ 4.7 อบรมมีสนมแม่ ในรพ.สต.

  14. กระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯกระบวนการดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ 5. ค้นหาปราชญ์นมแม่ เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว คุณสมบัติปราชญ์ นมแม่ คือบุคคลผู้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ในเรื่องนมแม่ และการเลี้ยงดูเด็ก และนำภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้การแนะนำ ช่วยเหลือ พร้อมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ เป็นต้นแบบ ให้แก่บุคคลอื่นได้

  15. หน้าที่ปราชญ์ 1. มีข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ / แม่หลังคลอด /เด็กอ่อน มีการเยี่ยมบ้าน ให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือเรื่องนมแม่ 2. ใช้ความรู้ เรื่องสมุนไพร / วิถีปฏิบัติแบบไทย ใช้รักษา บำรุงน้ำนม 3. ให้ความรู้เรื่องนมแม่ ด้วยศิลปินพื้นบ้าน เช่นเพลงพื้นบ้าน ฯลฯ 4. สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เรื่องนมแม่ เช่นสร้างอุปกรณ์การเก็บน้ำนมแม่ หรือ เครื่องมือที่ทำให้เด็กกินนมแม่ได้สะดวก ฯลฯ

  16. ครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ “ก่อปฐมจากนมแม่ สร้างเด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น”

More Related