1 / 137

บทที่ 9 ปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน (Interest Factor and Financial Decision

บทที่ 9 ปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน (Interest Factor and Financial Decision. ความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน.

Download Presentation

บทที่ 9 ปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน (Interest Factor and Financial Decision

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9ปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน(Interest Factor and Financial Decision

  2. ความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงินความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน จากแนวความคิดที่ว่า ค่าของเงิน (Time Value of Money)จะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาเพราะถือว่าเงินที่เราได้รับในปัจจุบัน ย่อมสามารถนำไปลงทุนโดยปราศจากความเสี่ยง (Risk Free Rate)จากอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะทำให้ค่าของเงินที่ได้รับในปัจจุบันมีค่าสูงกว่าค่าของเงินที่จะได้รับในอนาคตทั้งที่จำนวนเท่ากัน ดังนั้นในการพิจารณาหรือตัดสินใจทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการเงินระยะยาวในธุรกิจ ผู้บริหารทางการเงินจำเป็นจะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องมูลค่าของเงินตามระยะเวลา ตลอดจนวิธีการทางที่จะนำมาใช้คำนวณวัดมูลค่าของเงินได้ นั่นหมายถึงการเข้าใจเรื่องปัจจัยดอกเบี้ยที่มีผลต่อการตัดสินใจทางการเงิน และนำมาคำนวณหาค่าของเงินใน 2 แง่มุม

  3. วางไว้บนโต๊ะ 10 ปี

  4. ฝากธนาคาร 10 ปี

  5. ความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงินความสำคัญของปัจจัยดอกเบี้ยและการตัดสินใจทางการเงิน จากแนวความคิดที่ว่า ค่าของเงิน (Time Value of Money)จะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาเพราะถือว่าเงินที่เราได้รับในปัจจุบัน ย่อมสามารถนำไปลงทุนโดยปราศจากความเสี่ยง (Risk Free Rate)จากอัตราดอกเบี้ย ซึ่งจะทำให้ค่าของเงินที่ได้รับในปัจจุบันมีค่าสูงกว่าค่าของเงินที่จะได้รับในอนาคตทั้งที่จำนวนเท่ากัน ดังนั้นในการพิจารณาหรือตัดสินใจทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการเงินระยะยาวในธุรกิจ ผู้บริหารทางการเงินจำเป็นจะต้องเข้าใจแนวคิดเรื่องมูลค่าของเงินตามระยะเวลา ตลอดจนวิธีการทางที่จะนำมาใช้คำนวณวัดมูลค่าของเงินได้ นั่นหมายถึงการเข้าใจเรื่องปัจจัยดอกเบี้ยที่มีผลต่อการตัดสินใจทางการเงิน และนำมาคำนวณหาค่าของเงินใน 2 แง่มุม

  6. การลงทุนประเภทใดที่ไม่มีความเสี่ยงโดยมีผลตอบแทนการลงทุนประเภทใดที่ไม่มีความเสี่ยงโดยมีผลตอบแทน

  7. ?

  8. ฝากธนาคาร ดังนั้นการลงทุนต่างๆถ้าได้ผลตอบแทนน้อยกว่า การฝากเงิน ก็ไม่ควรจะลงทุน

  9. มูลค่าทบต้น (Compound Value) มูลค่าทบต้นเป็นการหามูลค่าของเงินจำนวนหนึ่ง ที่ทบต้นกับปัจจัยดอกเบี้ยที่ได้รับ ตามข้อตกลงในระยะเวลาที่กำหนด (Compound Value) นอกจากนั้นยังสามารถคำนวณหามูลค่าทบต้นของเงินที่เก็บสะสมหลายงวด ๆ ละเท่า ๆ กัน (Compound sum of an annuity) ก่อนจะศึกษามูลค่าทบต้น ต้องเข้าใจเรื่องทฤษฎีดอกเบี้ยก่อน

  10. ทฤษฎีดอกเบี้ย ถ้าหากฝากธนาคาร 100 บาท ธนาคารจ่ายดอกเบี้ยในอัตรา 5%ต่อปี เราจะได้รับเงินเท่าไหร่ 100 + (100 X 5%) = 100 + 5 = 105 ดอกเบี้ย 5% 105 100 เวลา 1 ปี เงินอนาคต เงินปัจจุบัน

  11. การคำนวณมูลค่าทบต้น ถ้าหากว่าผู้ลงทุนต้องการให้เงินที่นำไปฝากอยู่ในธนาคารจนสิ้นปีที่สอง ในกรณีนี้เมื่อถึงวันสิ้นปีที่สอง เงินที่นำไปฝากในตอนแรกจำนวน 100 บาท เราจะได้รับเงินเท่าไหร่ ตอบ

  12. การคำนวณมูลค่าทบต้น ถ้าหากว่าผู้ลงทุนต้องการให้เงินที่นำไปฝากอยู่ในธนาคารจนสิ้นปีที่สอง ในกรณีนี้เมื่อถึงวันสิ้นปีที่สอง เงินที่นำไปฝากในตอนแรกจำนวน 100 บาท เราจะได้รับเงินเท่าไหร่ 110.25

  13. การคำนวณมูลค่าทบต้น เงินฝากครั้งแรก 100.00 บาท ดอกเบี้ยสำหรับปีที่ 1 (100.00 X 5%) 5.00 บาท จำนวนเงิน ณ ปลายปีที่ 1 105.00 บาท ดอกเบี้ยสำหรับปีที่ 2 (105.00 X 5%) 5.25 บาท จำนวนเงิน ณ ปลายปีที่ 2110.25บาท

  14. ทฤษฎีดอกเบี้ย การใช้สูตรคำนวณ Fn = P ( 1 + i )n

  15. ทฤษฎีดอกเบี้ย Fn = P ( 1 + i )n โดย Fn = จำนวนเงินที่จะได้รับ ณ ปลายปีที่ n P = เงินทีจ่ายในปัจจุบัน i = อัตราดอกเบี้ย n = จำนวนปี

  16. ทฤษฎีดอกเบี้ย Fn = P ( 1 + i )n F1 = จำนวนเงินที่จะได้รับ ณ ปลายปีที่ 1 P = 100 i = 5% n = 1 ปี F1 = 100 ( 1 + 5% )1 F1 = 100 ( 1 + 0.05 )1 F1 = 100 ( 1.05 )1 F1 = 105 บาท

  17. การคำนวณมูลค่าทบต้น ถ้าหากว่าผู้ลงทุนต้องการให้เงินที่นำไปฝากอยู่ในธนาคารจนสิ้นปีที่สอง ในกรณีนี้เมื่อถึงวันสิ้นปีที่สอง เงินที่นำไปฝากในตอนแรกจำนวน 100 บาท เราจะได้รับเงินเท่าไหร่

  18. Fn = P ( 1 + i )n F2 = จำนวนเงินที่จะได้รับ ณ ปลายปีที่ 2 P = 100 i = 5% n = 2 ปี F2 = 100 ( 1 + 5% )2 F2 = 100 ( 1 + 0.05 )2 F2 = 100 ( 1.05 )2 F2 = 100 ( 1.1025 ) F2 = 110.25 บาท

  19. ตัวอย่างที่ 1 บทที่ 9 นายหนึ่งฝากเงิน 100 บาท กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง กำหนดเวลา 5 ปี อยากทราบว่าเมื่อครบกำหนดเขาจะได้รับเงินทั้งสิ้นเท่าใด ถ้าสถาบันการเงินแห่งนี้ให้ดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี

  20. Fn = P ( 1 + i )n F5 = ? P = 100 i = 10% n = 5 ปี F5 = 100 ( 1 + 10% )5 F5 = 100 ( 1 + 0.1 )5 F5 = 100 ( 1.1 )5 F5 = 100 ( 1.61051 ) F5 = 161.05 บาท หรือใช้ตาราง CVIF

  21. ตาราง Compound value interest factors for $1 (CVIF) i = 10% n = 5 ปี n / i 10 5 1.6105 ( 1 + i% )n = ( 1 + 10% )5= 1.61051

  22. F5 = P ( CVIF n = 5 ,i = 10% ) F5 = 100 ( 1.6105 ) F5 = 161.05 บาท ตัวอย่างที่ 2นายสองนำเงิน 500,000 บาท ไปลงทุนในบริษัทแห่งหนึ่งเป็นเวลา 10 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตรา 10% ต่อปี เมื่อครบกำหนดจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าใด F10 = P ( CVIF n = 10 ,i = 10% ) F10 = 500,000 ( 2.5937 ) F10 = 1,296,850 บาท

  23. แบบฝึกหัด ท้ายบทที่ 9

  24. ข้อ 1

  25. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ก. 1,000 10% 3ปี ใช้สูตร

  26. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ก. 1,000 10% 3ปี Fn = P ( 1 + i )n F3 = 1,000 ( 1 + 10% )3 F3 = 1,000 ( 1 + 0.10 )3 F3 = 1,000 ( 1.1 )3 F3 = 1,000 ( 1.331) F3 = 1,331 บาท

  27. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ก. 1,000 10% 3ปี ใช้ตาราง CVIF Fn = P ( CVIF n = 3 ,i = 10% ) F3 = 1,000 ( 1.3310 ) F3 = 1,331 บาท

  28. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) จ. 5,000 18% 10 ปี ใช้ตาราง CVIF F10 = P ( CVIF n = 10 ,i = 18% ) F10 = 5,000 ( 5.2338 ) F10 = 26,169 บาท

  29. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) ฉ. 10,000 20% 25 ปี F25 = P ( CVIF n = 25 ,i = 20% ) F25 = 10,000 ( 95.3962 ) F25 = 953,962 บาท

  30. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 12.50% 10 ปี ใช้สูตร ใช้ตาราง CVIF

  31. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 12.50% 10 ปี Fn = P ( 1 + i )n F10 = 1,000,000 ( 1 + 12.50% )10 F10 = 1,000,000 ( 1.125)10

  32. ลองกดเครื่องคิดเลขการคูณยกกำลังดูนะลองกดเครื่องคิดเลขการคูณยกกำลังดูนะ =(หมายถึง 2 ครั้ง) 1.125X(คูณ) X(คูณ) 1.125 กด=อีก 8 ครั้ง (หมายถึงครบ 10 ครั้ง)

  33. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 12.50% 10 ปี Fn = P ( 1 + i )n F10 = 1,000,000 ( 1 + 12.50% )10 F10 = 1,000,000 ( 1.125 )10 F10 = 1,000,000 ( 3.2473207 ) F10 = 3,247,320.70 บาท F10 = 3,247,321.03 บาท

  34. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000,000 8.75% 18 ปี Fn = P ( 1 + i )n F18 = 1,000,000 ( 1 + 8.75% )18 F18 = 1,000,000 ( 1.0875 )18 F18 = 1,000,000 ( 4.5261257 ) F18 = 4,526,125.70 บาท F18 = 4,526,127.47 บาท

  35. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี ใช้สูตร

  36. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี Fn = P ( 1 + i )n F28 = 1,000 ( 1 + 9% )28 F28 = 1,000 ( 1.09)28 F28 = 1,000 ( 11.167136 ) F28 = 11,167.14 บาท

  37. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี ใช้ตาราง

  38. เงินต้น(P) อัตราดอกเบี้ย (i) ระยะเวลา (n) พิเศษ 1,000 9.00% 28 ปี F28 = P ( CVIF n = 28 ,i = 9% ) F28 = 1,000 ( 11.1671 ) F28 = 11,167.10 บาท

  39. การคำนวณระยะเวลาทบต้นการคำนวณระยะเวลาทบต้น Fn = P ( 1 + i )n จากสูตร n ตัวอย่างที่ 3นายสามมีเงินอยู่ 100,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 235,800บาท โดยถ้านายสามนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 10% ต่อปี อยากทราบว่านายสามจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี Fn = P ( 1 + i )n 235,800 = 100,000 ( 1 + 10% )n ( 1 + 10% )n = 235,800 ÷ 100,000 ( 1 + 10% )n = 2.3580 เปิดตาราง CVIFi = 10%

  40. ตาราง Compound value interest factors for $1 (CVIF) i = 10% n = ?ปี / i n 10 9 2.3580

  41. การคำนวณระยะเวลาทบต้นการคำนวณระยะเวลาทบต้น Fn = P ( 1 + i )n จากสูตร n ตัวอย่างที่ 3นายสามมีเงินอยู่ 100,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 235,800บาท โดยถ้านายสามนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 10% ต่อปี อยากทราบว่านายสามจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี นำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี 9 ปี Fn = P ( 1 + i )n 235,800 = 100,000 ( 1 + 10% )n ( 1 + 10% )n = 235,800 ÷ 100,000 ( 1 + 10% )n = 2.3580 เปิดตาราง CVIFi = 10% n = 9 ปี (ต้องฝาก 9 ปี)

  42. ตัวอย่างเพิ่มเติม นายพิเศษมีเงินอยู่ 200,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 466,320บาท โดยถ้านายพิเศษนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 8% ต่อปี อยากทราบว่านายพิเศษจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี Fn = 466,320 P = 200,000 i = 8% n = ?ปี

  43. Fn = P ( 1 + i )n 466,320 = 200,000 ( 1 + 8% )n ( 1 + 8% )n = 466,320 ÷ 200,000 ( 1 + 8% )n = 2.3316 เปิดตาราง CVIFi = 8% n = 11 ปี ดังนั้นนายพิเศษต้องฝากเงินต้น 200,000 บาท เป็นเวลา 11 ปี แบบทบต้นในอัตราดอกเบี้ย 8% ถึงจะได้รับเงินสิ้นปีที่ 11 เท่ากับ 466,320 บาท

  44. ตัวอย่างเพิ่มเติม นายพิเศษมีเงินอยู่ 400,000 บาท ในอนาคตต้องการมีเงินทั้งหมด 920,000บาท โดยถ้านายพิเศษนำไปฝากกับสถาบันการเงินจะได้รับดอกเบี้ยทบต้นในอัตรา 12% ต่อปี อยากทราบว่านายพิเศษจะต้องนำเงินไปฝากไว้เป็นเวลากี่ปี (ปี / เดือน / วัน) Fn = 920,000 P = 400,000 i = 12% n = ?ปี

  45. Fn = P ( 1 + i )n 920,000 = 400,000 ( 1 + 12% )n ( 1 + 12% )n = 920,000 ÷ 400,000 ( 1 + 12% )n = 2.3000 เปิดตาราง CVIFi = 12%

  46. ตาราง Compound value interest factors for $1 (CVIF) i = 12% n = ?ปี / i n 12 7 2.2107 n = 7 ปีกว่าๆ 2.3000 8 2.4760

  47. จากข้อมูล 7 2.2107 2.3000 8 2.4760

  48. จากข้อมูล 7 2.2107 ค่า CVIF ปีที่ 7 และ 8 หรือ 1 ปี ต่างกัน = 2.4760 – 2.2107 = 0.2653 ? 2.3000 8 2.4760

  49. จากข้อมูล 7 2.2107 ค่า CVIF (2.4760 – 2.2107) = 0.2653 ห่างกัน 1 ปี 2.3000 – 2.2107 0.0893 ห่างกัน ? 2.3000 1 X 0.0893 0.2653 8 2.4760

  50. จากข้อมูล 7 2.2107 ค่า CVIF (2.4760 – 2.2107) = 0.2653 ห่างกัน 1 ปี 0.34 ปี 0.0893 ห่างกัน 2.3000 1 X 0.0893 0.2653 8 2.4760

More Related