1 / 25

บทปฏิบัติการที่ 2 การตรวจสอบจุลินทรีย์ในน้ำนม (Determination of Microorganism in Milk )

บทปฏิบัติการที่ 2 การตรวจสอบจุลินทรีย์ในน้ำนม (Determination of Microorganism in Milk ) การตรวจสอบจุลินทรีย์โดยอ้อม 2.1 เมทธิลีนบลูรีดักชั่นเทสต์ 2.2 การตรวจสอบรีซาซูริน การตรวจสอบจุลินทรีย์โดยตรง 2.3 การนับจุลินทรีย์โดยกล้องจุลทรรศน์ 2.4 การนับจุลินทรีย์บนจานเลี้ยงเชื้อ

lindley
Download Presentation

บทปฏิบัติการที่ 2 การตรวจสอบจุลินทรีย์ในน้ำนม (Determination of Microorganism in Milk )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทปฏิบัติการที่ 2 • การตรวจสอบจุลินทรีย์ในน้ำนม • (Determination of Microorganism in Milk ) • การตรวจสอบจุลินทรีย์โดยอ้อม • 2.1 เมทธิลีนบลูรีดักชั่นเทสต์ • 2.2 การตรวจสอบรีซาซูริน • การตรวจสอบจุลินทรีย์โดยตรง • 2.3 การนับจุลินทรีย์โดยกล้องจุลทรรศน์ • 2.4 การนับจุลินทรีย์บนจานเลี้ยงเชื้อ • 2.5 การตรวจแบคทีเรียโคลิฟอร์ม • การตรวจสอบแบคทีเรียอื่นๆ • 2.6 การตรวจหาแบคทีเรียโรคเต้านมอักเสบ • 2.7 การทดสอบยาปฏิชีวนะในน้ำนมด้วยโยเกิต

  2. บทปฏิบัติการ 2.1 การตรวจสอบโดยการเปลี่ยนสีของเมทธิลีน บลู (Methylene Blue Reduction Test, MBRT) หลักการ (Principles) - MBRT เป็นวิธีการทดสอบจุลินทรีย์โดยทางอ้อม หลักการ: Methylene Blue เมื่ออยู่ในสภาวะที่มี O2 จะมีสีน้ำเงิน จะเปลี่ยนเป็นสีขาวในสภาพที่มี CO2 -ชั่วโมงการเปลี่ยนของ MRBT จะสัมพันธ์ตรงข้ามกับจำนวนแบคทีเรีย ข้อจำกัดอยู่บ้างในการตรวจสอบดังนี้ -แบคทีเรียบางชนิด เช่น S. agalactiae B. Subtilis จะเปลี่ยนสีได้ช้า -Somatic cell และเม็ดโลหิตขาวจะฟอกสี Methylene Blue ได้เช่นกัน

  3. วิธีการ (Method) 1. ไปเปทสารละลายของ MRBT1 ml. ลงในหลอดตรวจสอบ 2. ไปเปทน้ำนมตัวอย่าง 10 ml. ลงหลอดทดสอบดังกล่าวพร้อมทั้งปิดฝา นำเข้าไปแช่ในอ่างน้ำอุ่น( 37+5 C) ปิดฝาอ่างป้องกันแสง 3. จับเวลาสังเกตการเปลี่ยนแปลงสีของเมธิลีน บลู ทุกๆช่วงเวลา 1/2, 1, 2, 3...7, 8 ชม. อ่านผลโดยกลับหลอดไป-มา แล้วดูลักษณะสีที่ปรากฏเห็นในแต่ละชม. 4. ทำหลอดควบคุมโดยใช้น้ำนม แต่ไม่ใส่สารละลายสี

  4. การวิเคราะห์ผล

  5. บทปฏิบัติการที่ 2.2 การตรวจสอบรีซาซูรีน (Resazurin Reduction Test, RRT) หลักการ (Principles) - RRT คือปฎิกริยา oxidation-reduction ของสารเคมีที่มีความไวเปลี่ยนสี - ใช้หลักการคล้าย MRBT -การเปลี่ยนสีของตัวอย่างน้ำนม จะอ่านผลภายใน 1 ชั่วโมง ขั้นตอนปฏิกิริยา ขั้น 1 Resazurin ----------------> Resorufin (สีน้ำเงิน) ( สีชมพู ) ขั้น 2 Resorufin ----------------> Hydroresorufin (สีชมพู) (ไม่มีสี, ขาว)

  6. วิธีการ (Method) 1. ไปเปท รีซาซูรีน 1 ml. ใช้ในหลอดตรวจสอบ 2. ไปเปทตัวอย่างนม 10 ml. ใส่ลงไปในหลอดดังกล่าว ปิดฝาและกลับ หลอดไปมา 2-3 ครั้ง และนำไปวางในอ่างน้ำที่ อุณหภูมิ ( 37+5 C) ปิดฝาอ่างน้ำให้มิดชิด 3. เมื่อครบเวลา 1 ชั่วโมง นำหลอดทดสอบมาเทียบสีกับจานสี lovibond comparation

  7. การวิเคราะห์ผล

  8. บทปฏิบัติการ 2.3 • การตรวจนับจุลินทรีย์โดยกล้องจุลทรรศน์ (Direct Microscopic Count, DMC) • หลักการ (Principles) • -เป็นวิธีตรวจนับแบคทีเรียในน้ำนมโดยตรงด้วยกล้องจุลทรรศน์ • ให้ผลรวดเร็วและสิ้นเปลืองน้อย • แต่ต้องอาศัยความชำนาญ • วิธีการ (Method) • การเตรียมแผ่นสไลด์ตัวอย่างนม • โดยทำเครื่องหมายรูปสี่เหลี่ยมพื้นที่ 1 ตร.ซม. • ไว้ที่ใต้แผ่นสไลด์ 1 cm2

  9. การทำ smear • -อุ่นน้ำนม (37 C ) และ กวนให้เป็นเนื้อเดียวกัน • -ใช้ loop ที่ฆ่าเชื้อแล้ว แตะน้ำนมตัวอย่าง 1 loop • (0.01 ml. ) เกลี่ยลงบนพื้นที่สี่เหลี่ยมให้เต็มและเรียบ • -ปล่อยแผ่นสไลด์ให้แห้งบนถาดอุ่นสไลด์ • 3 การย้อมสี • -จุ่มแผ่นสไลด์ที่ทำ smear แล้ว ลงใน Xylene นาน 1-2 นาที เพื่อขจัดไขมัน • -ล้างสไลด์ด้วยน้ำเปล่า โดยเปิดน้ำก๊อกเบาๆ รินผ่านสักครู่ แล้วปล่อยให้แห้ง • - นำแผ่นสไลด์ที่แห้งแล้ว มาจุ่มแอลกอฮอล์ 95% นาน 1-2 นาที เพื่อ fix smear • แล้วตากให้แห้ง • -นำสไลด์มาย้อมด้วยสี Loeffler's methylene blue โดยหยดน้ำยาสี 1-2 หยด • ให้น้ำยาท่วมแผ่นสไลด์ ทิ้งไว้ 2 นาที ล้างสีออกด้วยน้ำเปล่าอีกครั้ง • -แล้วตากแห้ง ก่อนนำไปส่องในกล้องจุลทรรศน์ต่อไป

  10. การใช้กล้องจุลทรรศน์ • -ปรับกล้องจุลทรรศน์ เริ่มจากกำลังขยายต่ำ 40 X • แล้วจึงปรับไปที่หัวoil • ข้อสังเกตในการตรวจ • - แบคทีเรียย้อมติดสีน้ำเงินเข้ม • - เม็ดเลือดขาวย้อมติดสีน้ำเงินเข้ม • - โซมาติกเซลล์ย้อมติดสีน้ำเงินเข้ม • - โปรตีนย้อมติดสีฟ้าเป็นพื้นหลัง • - ไขมันย้อมติดสีขาวหรือไม่ติดสี • - สิ่งสกปรก,ฝุ่นย้อมติดสีเป็นเม็ดดำหรือน้ำตาล

  11. การคำนวณจำนวณแบคทีเรีย (Calculation) • จำนวนแบคทีเรียใน 1 ml. =ค่าเฉลี่ยจำนวนแบคทีเรียใน 1 field x conversion factor • ยกตัวอย่างการคำนวณหาแบคทีเรียในน้ำนม • กล้องจุลทรรศน์มีหัวoil เส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 0.21มิลลิเมตร • จำนวนโคโรนีที่นับได้ใน 30 flied คือ45 • จำนวนแบคทีเรียในน้ำนม? • 1. หาค่าเฉลี่ยจำนวนแบคทีเรียใน 1 field = 45 / 30 = 1.5 • 2. จำนวนแบคทีเรียในน้ำนม = 1.5 x 300,000 • = 450,000เซลล์ / ml.

  12. บทปฏิบัติการ 2.4 การนับจุลินทรีย์บนจานเลี้ยงเชื้อ (Standard Plate Count, SPC) หลักการ (Principles) -วิธี Standard Plate Count นี้เป็นการเพาะเลี้ยงเชื้อในอาหารที่จุลินทรีย์ส่วนมากสามารถเจริญเติบโตได้ -หลังจากนั้นแล้วจึงนับจำนวนโคโลนี (colony) -ค่าที่ได้บ่งชี้ถึงความสะอาดของน้ำนมดิบ(ความสะอาดในการรีดนม และความสะอาดของอุปกรณ์ โรคเต้านมอักเสบ)

  13. วิธีการ (Method) • การวางแผนการทำ Dilution • ในน้ำนมดิบจะมีจำนวนแบคทีเรียอยู่เป็นจำนวนมาก จึงต้องทำเจือจางก่อนเพาะเลี้ยง • ขั้นตอนการเตรียม dilution น้ำนมชนิดต่าง ๆ 1 ml. 1 ml. 1 ml. 1 ml. 9 ml. H2O 1:10 A 9 ml. H2O 1:100 B 9 ml. H2O 1:1000 C 9 ml. H2O 1:10,000 D Dilutionที่เหมาะสมควรมีจุลินทรีย์เกิดอยู่ในช่วง 30-300 โคโลนี

  14. การเลือกใช้ dilutions กับน้ำนมชนิดต่าง ๆ

  15. SPC กลุ่ม ............. Control วันที่ SPC กลุ่ม ............. ตัวอย่างน้ำนมดิบ Dilution 1: 10 วัน 4. การเพาะเชื้อ 4.1 นำจานที่จะใช้ มาเขียนชื่อตัวอย่างน้ำนม • การหยด Dilution • .-ใช้ ไปเปท ลนไฟ ก่อนดูดน้ำนมจาก dilution ต่างๆ ที่ทำไว้ • จำนวน 1 ml. ลงในจานเลี้ยงเชื้อ • 2. การเท Agar ( ตรวจอุณหภูมิagarต้องไม่ร้อนเกินไป • ใช้หลังมือแตะขวดพอทนได้) • - ใช้ไฟตะเกียงลนปากขวดagar ก่อนเปิดฝา • - และเท agar ประมาณ 15 ซีซี สู่จานเลี้ยง • วางจานบนโต๊ะใช้มือจับฝาจาน แกว่งตัวจาน • ในแนวราบบนโต๊ะให้ agar เข้ากันดี

  16. 4.4 วางรอจน agar แข็งตัว นำเข้าอบที่อุณหภูมิ 32 C นาน 48 ชั่วโมง การวางจานนั้นต้องกลับคว่ำจานเลี้ยงเชื้อลง 4.6 เมื่อครบ 48 ชั่วโมง แล้วนำออกมานับจำนวนโคโลนีโดยใช้เครื่อง (colony counter) และรายงานผลในหน่วยของโคโลนีต่อml.ของน้ำนม ( colony/ml )

  17. 5. การอ่านผล 5.1 เลือกนับจากจานที่มีจำนวนโคโลนี 30-300 โคโลนี หากทุกจานมีมากกว่า 300 โคโลนีให้ รายงานเป็น นับไม่ได้ จำนวนแบคทีเรียที่นับได้ในแต่ละจาน=จำนวนแบคทีเรียที่นับได้ / ค่า dilute ตัวอย่างเช่น นับจำนวนแบคทีเรียได้ 250 โคโลนีที่ dilution 1 x 10 - 3 (0.001) จะมีจำนวนแบคทีเรีย = 250 / 0.001 = 250,000 cfu/ml หรือ = 250 x 1,000 = 250,000 cfu/ml *cfu = colony forming unit

  18. บทปฏิบัติการที่ 2.5 การตรวจสอบแบคทีเรียโคลิฟอร์ม -เป็นวิธีที่ใช้ตรวจสอบน้ำนมภายหลังจากที่ทำการฆ่าเชื้อแล้ว -ลุ่มโคลิฟอร์มได้แก่ Coliform bacteria จำพวก gram-negative เช่น Escherichia (E. Coli) กับ Enterobacter (หรือ Acrobacter) ความสำคัญของแบคทีเรียโคลิฟอร์ม 1. โคลิฟอร์มเป็นแบคทีเรียที่พบได้ทั่วไปในนมดิบ 2. โคลิฟอร์มไม่ทนในอุณหภูมิฆ่าเชื้อนมพาสเจอร์ไรส์ ดังนั้นการพบแบคทีเรียในน้ำนมที่พาสเจอร์ไรส์แล้ว แสดงว่ามีการปนเปื้อน

  19. วิธีการ (Method) -อุ่น Agar ให้อยู่ในสภาพละลาย -เติมน้ำนม dilutionตัวอย่างละ 1 ml. ต่อ 1 จาน ( หากเป็นน้ำนมดิบให้ใช้ Dilution 1:10, 1:100 และน้ำนมพาสเจอร์ไรส์ใช้ 1:1, 1:10) -ให้เท วุ้นแดง( Violet red bile agar) ทับในแต่ละจาน จานละ 10 มล. หมุนจานให้ส่วนผสมเข้ากันและตั้งทิ้งไว้ให้วุ้นแข็ง -นำจานวุ้นที่แข็งตัว บ่มในตู้อุณหภูมิ 37 C นาน 24 ชม. -เมื่อครบเวลาให้นำจานออกมาตรวจนับ -ลักษณะโคโลนีจะเป็นสีแดงเข้มขึ้นอยู่ในเนื้อวุ้น -รายงานผลเป็น โคโลนีต่อมล. = จำนวนโคโลนี/จาน x อัตราเจือจาง

  20. บทปฏิบัติการที่ 2.6 • การตรวจโรคเต้านมอักเสบโดยวิธี California Mastitis Test • -CMT เป็นวิธีที่ใช้การประมาณค่า somatic cell โดยอาศัยปฏิกิริยาของ Sodium hydroxide ซึ่งจะทำให้เซลล์แตกสลาย และ ทำให้โปรตีนของเม็ดโลหิตขาวเกิดการตกตะกอน • จับกันเป็นก้อนหนืด ปรากฎให้เห็นด้วยตาเปล่า • วิธีการ ( Method ) • 1. ใช้ไปเปทดูดน้ำนมใส่ในจานหลุมทั้ง 4 จาน ๆ ละ 2-5 ml. • 2. ไปเปท CMT ใส่จานทั้ง 4 จาน (น้ำยา CMT : น้ำนมตัวอย่าง = 1:1) • 3. แกว่งถาดจานหลุมวนเป็นวงกลมอย่างช้า ๆ ให้คะแนนและสังเกตการเกิดตะกอนจับเป็นก้อนทันทีภายใน10 วินาที

  21. หมายเหตุ : ระวังการอ่านผลตรวจน้ำนมจากโคแรกคลอดและช่วงปลายการให้นม ซึ่งจะให้ผลบวก

  22. บทปฏิบัติการที่ 2.7 การทดสอบยาปฏิชีวนะในน้ำนมด้วยโยเกิต -ปัญหาน้ำนมที่พบบ่อย คือการปลอมปนยาปฏิชีวนะ หรือสารป้องกันการเสียของน้ำนม วิธีตรวจอย่างง่ายคือการทำโยเกิตเทส( Yogurt test ) -โดยน้ำนมที่มีสารกันนมเสียเมื่อใส่จุลินทรีย์จากโยเกิต เพาะเลี้ยงแล้วจะพบว่าเชื้อตาย -ต่างกับน้ำนมที่ไม่มีสารป้องกันเสีย เชื้อจะเจริญได้ ทำให้น้ำนมเกิดตะกอน

  23. การตรวจสอบยาปฏิชีวนะเบื้องต้นโดยวิธี PlainYoghurt วิธีการ 1.ใช้โยเกิตจืด 1 ถ้วย (150 กรัม) ผสมน้ำเย็น 150 มล. คนให้เข้ากัน 2.นำน้ำนมดิบ 10 มล. ต้มเดือด 10 นาที และปรับอุณหภูมิ 35-37 C 3.ใส่โยเกิตที่เตรียมไว้ 1 ซีซี. ลงในหลอดน้ำนม เขย่าให้เข้ากัน 4.บ่มในWater Bathอุณหภูมิ 48 C นาน 3 ชั่วโมง 5.ทำตัวอย่าง Bank และControl เพื่อเปรียบกับผลจากน้ำนมดิบ การอ่านผล -ถ้าตัวอย่างน้ำนมมีการจับตัวเป็นก้อน/หนืด อ่านผลเป็นลบ(-) คือไม่มีสารยับยั้งจุลินทรีย์ -ถ้าตัวอย่างน้ำนมยังเป็นน้ำนมปกติ ไม่หนืดให้อ่านผลเป็นบวก(+) คือ อาจมีสารยับยั้งการเจริญเติบโตจุลินทรีย์

  24. การตรวจสอบยาปฏิชีวนะโดยวิธี Yoghurt with Bromocresol Purple -ใช้ โยเกิตรสจืดไม่ต้องเจือจาง -ใช้นม 2 ซีซี. ต้มในน้ำเดือด 10 นาที และปรับอุณหภูมิ 35-37 C -ผสมโยเกิต 0.1 ซีซี. ประมาณ 1 หยด + BCP 0.2 ซีซี.( 2 หยด) เขย่าให้เข้ากัน -บ่มใน Water Barth อุณหภูมิ 45 C นาน 3 ชั่วโมง การอ่านผล ตัวอย่างถ้ามีสีเหลือง = ผลลบ ตัวอย่างถ้ามีสีน้ำเงิน = ผลบวก

More Related