1 / 31

ราคาสินค้าเกษตร

หน่วยที่ 6. ราคาสินค้าเกษตร. การกำหนดราคาในทางทฤษฎี. โครงสร้างของตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ 1. จำนวนผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดมีมาก ตลาดเป็นผู้รับราคา (price – taker) 2. สินค้ามีลักษณะเหมือนกันและทดแทนกันได้อย่างดี 3. ไม่มีสิ่งใดไปจำกัดอุปสงค์ อุปทาน หรือราคา

lilian
Download Presentation

ราคาสินค้าเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 6 ราคาสินค้าเกษตร

  2. การกำหนดราคาในทางทฤษฎีการกำหนดราคาในทางทฤษฎี โครงสร้างของตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ 1. จำนวนผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดมีมาก ตลาดเป็นผู้รับราคา (price – taker) 2. สินค้ามีลักษณะเหมือนกันและทดแทนกันได้อย่างดี 3. ไม่มีสิ่งใดไปจำกัดอุปสงค์ อุปทาน หรือราคา 4. ทรัพยากรการผลิตและสินค้าสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างอิสระ 5. ผู้ขายและผู้ซื้อมีความรู้อย่างสมบูรณ์  การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์

  3. P(ราคา) P (ราคา) S D Pe P0 E d = AR = MR D S 0 0 Q (ปริมาณสินค้า) ธุรกิจ Q (ปริมาณสินค้า) ตลาด  ดุลยภาพของหน่วยธุรกิจ  ภาพที่ 6.3 การกำหนดราคาของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์

  4. MC (SRMC) ATC (SRAC) P (ราคา) AVC E P1 d = AR = MR = Pe C F 0 Q0 Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.4 ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์

  5. P (ราคา) LRMC SRMC LRAC SRAC E P0 d = AR = MR = Pe O Q (ปริมาณสินค้า) Q ภาพที่ 6.5 ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์

  6. การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์  การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์  ลักษณะของตลาดผูกขาด 1. มีผู้ผลิตรายเดียวและไม่มีสินค้าอื่นไปทดแทนได้ 2. ผู้ซื้อยอมรับราคาสินค้าที่ผู้ขายกำหนด และผู้ขายก็ยอมรับราคา ปัจจัยการผลิตในตลาด 3. ไม่มีต้นทุน (ค่าใช้จ่าย) ในการซื้อขายสินค้าเกิดขึ้น 4. ผู้ขายและผู้ซื้อมีข้อสนเทศอย่างสมบูรณ์

  7. P MC ATC P* C* P, D  MR Q O Q* MC = MR

  8. MC ATC 8  P MR O 30 MC = MR

  9. P ATC MC AVC 9 8.50  8 D MR Q O 30 MC = MR

  10. Q P AC(Q) AVC(Q) AFC(Q) การกำหนดราคาของตลาดผูกขาด ราคาและต้นทุน (บาท) MC F ATC AVC G  E D = AR AFC MR Q(ปริมาณสินค้า) 0 ภาพที่ 6.7 การกำหนดราคาเพื่อกำไรสูงสุดของผู้ขายผูกขาดในระยะยาว

  11. ราคาและต้นทุน (บาท) LRMC LRAC P0 SRMC SRAC E0  C D = AR MR Q(ปริมาณสินค้า) 0 Q0 ภาพที่ 6.7 การกำหนดราคาเพื่อกำไรสูงสุดของผู้ขายผูกขาดในระยะยาว

  12. การกำหนดราคาในตลาดผู้ขายน้อยรายการกำหนดราคาในตลาดผู้ขายน้อยราย  ลักษณะของตลาดผูกขาดน้อยราย 1. ในตลาดนี้มีผู้ขายตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป 2. การกระทำของผู้ขายแต่ละรายในตลาดมีกระทบซึ่งกันและกัน 3. สินค้าที่วางขายในตลาดอาจเหมือนกันหรือต่างกันก็ได้ 4. หน่วยธุรกิจใหม่เข้าไปแทรกแซงในตลาดได้ยาก

  13. P (ราคา) MCF k ACr P E Dm Q (ปริมาณสินค้า) 0 Q1 Q2 Dr MRr • วิธีการกำหนดราคาในตลาดผู้ขายน้อยราย • 1. ทฤษฎีการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนแบ่งตลาด ภาพที่ 6.9 การกำหนดราคาในตลาดผู้ขาย 2รายโดยใช้ส่วนแบ่งตลาด

  14. P D Dmหรือ MCs P1 Sdหรือ MCd C A B P2 Dd E Dm O Q F G I H MRd 2. ทฤษฎีการกำหนดราคาตามผู้นำ ภาพที่ 6.10 การกำหนดราคาโดยหน่วยธุรกิจขนาดใหญ่

  15. P (ราคา) D MC1 P2 AC1 MC2 AC2 Dm E d MR1= MR2 Q (ปริมาณสินค้า) O Q2 Qm ภาพที่ 6.11 การกำหนดราคาโดยหน่วยธุรกิจที่มีต้นทุนการผลิตต่ำกว่า

  16. หน่วยธุรกิจ A หน่วยธุรกิจ B ตลาด P (ราคา) P (ราคา) P (ราคา) D MCa MCb P Qm= P Qa+ Qa Qb P Qb MC E Dm 0 Qa (ปริมาณสินค้า) 0 Qb (ปริมาณสินค้า) 0 Qa + Qb (ปริมาณสินค้า) 3. ทฤษฎีการร่วมมือกำหนดราคาอย่างเปิดเผย ระหว่างหน่วยธุรกิจ ภาพที่ 6.12 การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตที่ได้กำไรสูงสุดร่วมกัน ในกรณีที่หน่วยธุรกิจมีการร่วมมือกันอย่างเปิดเผย

  17. TR TR Q Q P 10 P, AR=MR Q 0

  18. การกำหนดราคาในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดการกำหนดราคาในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด  โครงสร้างของตลาดกึ่งผูกขาด 1. ในตลาดมีหน่วยธุรกิจจำนวนมากราย 2. สินค้าที่ผลิตและขายในตลาดมีความแตกต่างกันแต่ไม่สมบูรณ์ 3. หน่วยธุรกิจเข้าออกจากตลาดได้ค่อนข้างง่าย 4. ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรู้หรือข่าวสารมากพอในการตัดสินใจซื้อ หรือขายสินค้าได้อย่างดี

  19. ดุลยภาพระยะสั้นและระยะยาวในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดดุลยภาพระยะสั้นและระยะยาวในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ราคาและต้นทุน (บาท/หน่วย) d D MC ATC P E C d mr D 0 Q Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.13 ดุลยภาพระยะสั้นในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

  20. ราคาและต้นทุน (บาท/หน่วย) d D LRMC A P LRAC E d MR D 0 Q Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.14 ดุลยภาพระยะยาวในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

  21. การกำหนดราคาในทางปฏิบัติ 1. การต่อรองราคาระหว่างบุคคลต่อบุคคล2. การกำหนดราคาในตลาดที่มีรูปแบบ3. การกำหนดราคาโดยผู้บริหาร4. การกำหนดราคาโดยการต่อรองด้วยกลุ่ม

  22. การวิเคราะห์ความแตกต่างของราคาสินค้าเกษตร ความแตกต่างของราคาตามส่วนเหลื่อมการตลาดส่วนเหลื่อมการตลาด หมายถึง1) ความแตกต่างระหว่างราคาสินค้าที่ผู้บริโภคจ่าย กับราคาที่ผู้ผลิตได้รับ2) ค่าบริการการตลาดต่าง ๆ ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายสินค้า จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค เช่น ค่าขนส่ง ค่าเก็บรักษา ค่าแปรรูป และกำไรของพ่อค้า

  23. P (ราคา) อุปทานสืบเนื่อง อุปทานขั้นปฐม Pr ส่วนเหลื่อมการตลาด Pf อุปสงค์ขั้นปฐม อุปสงค์สืบเนื่อง 0 Q Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.16 ส่วนเหลื่อมการตลาดระหว่างตลาดขายปลีกและ ตลาดระดับฟาร์ม

  24. ค่าโยกย้ายสินค้า (บาทต่อหน่วย) ค่าโยกย้ายสินค้า (บาทต่อหน่วย) C B A 0 ระยะทาง (กม.) 0 ระยะทาง (กม.) ก. เส้นค่าโยกย้ายสินค้าที่เป็นเส้นตรง ข. เส้นค่าโยกย้ายสินค้าในลักษณะอื่น ๆ ค่าโยกย้ายสินค้า (Transfer Cost) ภาพที่ 6.19 เส้นค้าโยกย้ายสินค้าในลักษณะต่าง ๆ กัน

  25. ราคาสุทธิต่อหน่วย เส้นราคาสุทธิ ระยะทาง (กม.) ตลาดกลาง ภาพที่ 6.21 เส้นราคาสุทธิ

  26. ราคาสุทธิต่อหน่วย ราคาสุทธิต่อหน่วย Pa เส้นราคาสุทธิ Pb Pb อาณาเขตใหม่ อาณาเขตเดิม 0 200 400 ตลาด A 300 ตลาด B 500 100 ระยะทางจากตลาด (กม.) ภาพที่ 6.22 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดและ ค่าโยกย้ายสินค้าที่มีต่ออาณาเขตระหว่างตลาด

  27. ความไม่มีเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตรความไม่มีเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตร ลักษณะของราคาผลิตผลเกษตรทั่วไป 1. ตลาดสินค้าเกษตรส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 2. อุปทานและอุปสงค์ของผลิตผลเกษตรส่วนใหญ่มีความยืดหยุ่นน้อย ราคามีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งและช่วงการเปลี่ยนแปลงกว้าง 3. ลักษณะทางชีวภาพของผลิตผลเกษตรทำให้ราคาไม่มีเสถียรภาพ ผลผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลและปริมาณการผลิตต่างกันทุกปี 4. อุปทานและอุปสงค์ของผลิตผลที่แหล่งผลิตส่วนใหญ่มีความยืดหยุ่นน้อย 5. การผลิตต้องใช้เวลา 6. การผลิตกระจัดกระจายไปตามความเหมาะสมของภูมิภาค ทำให้กำหนดราคายาก

  28. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของราคาผลิตผลเกษตรลักษณะการเปลี่ยนแปลงของราคาผลิตผลเกษตร 1. การเปลี่ยนแปลงของราคาในระยะสั้นมาก2. ตามฤดูกาล3. ตามรายปี4. ตามวัฏจักร5. ตามแนวโน้มระยะยาว6. การเคลื่อนไหวของราคาที่ผิดปกติ

  29. นโยบายเพื่อความมีเสถียรภาพของระดับราคาผลิตผลเกษตรนโยบายเพื่อความมีเสถียรภาพของระดับราคาผลิตผลเกษตร 1. การพัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศทางการตลาด ให้รวดเร็วขึ้น 2. การเก็บรักษาผลิตผลไว้จำหน่ายในลักษณะมูลภัณฑ์กันชน 3. การส่งสินค้าไปจำหน่ายต่างประเทศ 4. การนำสินค้าเข้าประเทศ 5. การสร้างระบบการเก็บรักษาสินค้า

  30. การจ่ายค่าชดเชย P (ราคา) D S A P3 ค่าใช้จ่ายของรัฐบาล P2 B P1 S รายจ่ายของ ผู้บริโภค D Q (ปริมาณผลิตผล) 0 Q1 Q2 นโยบายประกันราคาและการรับซื้อผลิตผล ภาพที่ 6.28 ราคา รายจ่ายของผู้บริโภคและค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการพยุงราคา เหนือระดับราคาดุลยภาพ

  31. การรับซื้อผลิตผล S P (ราคา) D A B P2 การรับซื้อของรัฐบาล P1 S D Q (ปริมาณผลิตผล) 0 Q1 Q2 ภาพที่ 6.29 รายจ่ายของผู้บริโภคและค่าใช้จ่ายของรัฐบาล ในการพยุงราคาเหนือดุลยภาพ โดยใช้นโยบายรับซื้อผลิตผล

More Related