1 / 22

บทที่ 5 : การจัดการนวัตกรรมในองค์กร

บทที่ 5 : การจัดการนวัตกรรมในองค์กร. อาจารย์ธ นากร อุย พานิชย์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ สวน สุนัน ทา. วัตถุประสงค์การเรียนรู้. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีองค์กรนวัตกรรม

lexi
Download Presentation

บทที่ 5 : การจัดการนวัตกรรมในองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5: การจัดการนวัตกรรมในองค์กร อาจารย์ธนากร อุยพานิชย์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

  2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีองค์กรนวัตกรรม • นักศึกษาสามารถอธิบายลักษณะและองค์ประกอบขององค์กนวัตกรรมได้ • นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกุลยุทธ์ทางนวัตกรรม • นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนนวัตกรรม

  3. อุปสรรคในการพัฒนานวัตกรรมในองค์กรอุปสรรคในการพัฒนานวัตกรรมในองค์กร • ความไม่เข้าใจในนวัตกรรม • ขาดผู้รับผิดชอบในด้านนวัตกรรมที่ชัดเจน • ความสับสนในเรื่องนวัตกรรมกับความคิดสร้างสรรค์ • ขาดกรอบการทำงาน • ขาดการควบคุม • ขาดการทำงานร่วมกัน • ขาดการเน้นความสนใจไปยังลูกค้า

  4. ระดับของนวัตกรรมในองค์กรระดับของนวัตกรรมในองค์กร • นวัตกรรมระดับกิจกรรม (Event Idea) นวัตกรรมเป็นเพียงกิจกรรมในการรวบรวมความคิดที่เกิดขึ้นเป็นครั้งๆ เช่น การระดมความคิด การประกวดความคิดใหม่ๆ ซึ่งหลายครั้งที่แนวความคิดดีๆ สามารถสร้างคุณค่ามหาศาลให้บริษัท แต่การนำแนวคิดไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีอยู่น้อยมาก

  5. ระดับของนวัตกรรมในองค์กรระดับของนวัตกรรมในองค์กร • นวัตกรรมระดับกระบวนการ (Process Deliverable) นวัตกรรมระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงานมากขึ้น องค์การมีกระบวนการในการระบุปัญหาและเลือกแนวความคิดเพื่อมาช่วยแก้ปัญหา โดยจัดทำแผนดำเนินการเพื่อให้นำแนวความคิดมาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นช่วงๆ ไม่มีความต่อเนื่อง

  6. ระดับของนวัตกรรมในองค์กรระดับของนวัตกรรมในองค์กร • นวัตกรรมระดับองค์การ (Capability Environment) นวัตกรรมในระดับนี้จะเป็นความสามารถหลักขององค์การ พนักงานจะดำเนินการสร้างนวัตกรรมเพื่อการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ บริการ และกระบวนการทำงานอยู่อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยระดับของนวัตกรรมจะมีการพัฒนาเป็นลำดับขั้น จากระดับระดับกิจกรรม ไปสู่ระดับกระบวนการและระดับองค์การ

  7. กระบวนการทางนวัตกรรม • การสร้างความคิดใหม่ (Idea Generation) ความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้น • การรับรู้ถึงสิ่งที่เป็นโอกาส (Opportunity Recognition) การวิเคราะห์เพื่อหาโอกาสความเป็นไปได้ทางธุรกิจหรือที่เรียกว่า “โอกาสทางธุรกิจ” • การประเมินความคิด (Idea Evaluation) การคัดเลือกความคิดที่คิดว่ามีความก้าวหน้า • การพัฒนาความคิด (Development) การปรับเปลี่ยนความคิดจากแนวคิดไปสู่แนวทางการทำงาน • การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (Commercialization) การน าความคิดไปสู่กระบวนการผลิตหรือการปฏิบัติจริงในองค์การ

  8. กระบวนการทางนวัตกรรม

  9. องค์การนวัตกรรม องค์การที่มีขีดความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมในด้านต่างๆ โดยมีการบริหารจัดการระบบและทรัพยากร ต่างๆ ในองค์การให้ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม เพื่อสร้างมูลค่าและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์การอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

  10. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดองค์การนวัตกรรมปัจจัยที่ก่อให้เกิดองค์การนวัตกรรม • อัตราการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว • ระดับการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น • การแข่งขันทางธุรกิจยุคโลกาภิวัตน์ • การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่รวดเร็ว • ความหลากหลายของแรงงาน • การขาดแคลนทรัพยากร • การเพิ่มขึ้นของสิ่งแวดล้อมทางธุรกิจที่มีความซับซ้อนมากขึ้น

  11. คุณลักษณะขององค์การนวัตกรรมคุณลักษณะขององค์การนวัตกรรม • มีผู้บริหารที่มีความกล้าเสี่ยงโดยอยู่บนพื้นฐานของเหตุและผล • องค์การให้ความสำคัญกับนวัตกรรมและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง • มีระบบข้อมูลข่าวสารที่มีการไหลเวียนอย่างอิสระ • มีระบบการจัดการความรู้ที่มีการจัดเก็บรวบรวมความรู้จากทั้งภายในองค์การและภายนอกองค์การ • มีผู้บริหารที่ให้การสนับสนุนและปกป้องความคิดที่ดี • มีการให้รางวัลแก่ผู้สร้างนวัตกรรม • มอบอำนาจให้กับลูกค้าในการควบคุมกระบวนการซื้อ • มีกระบวนการจ้างงานที่สนับสนุนนวัตกรรม

  12. คุณลักษณะขององค์การนวัตกรรมคุณลักษณะขององค์การนวัตกรรม • มีการกำหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายที่มีความท้าทาย • มีลักษณะโครงสร้างองค์การแบบแบนราบ (Flat Organization) • มีการฝึกอบรมทักษะด้านนวัตกรรมให้พนักงาน

  13. องค์ประกอบขององค์กรนวัตกรรม 7S ( McKinsey ) • ด้านกลยุทธ์ (Strategy) • ด้านโครงสร้าง (Structure) • ระบบ (Systems) • รูปแบบการบริหารจัดการ (Style) • พนักงาน (Staff) • ค่านิยมร่วม (Shared Values) • ทักษะ (Skills)

  14. ด้านกลยุทธ์ (Strategy) • มีข้อความและกลยุทธ์การทำงานสำหรับนวัตกรรม • มีการส่งเสริมสร้างนวัตกรรม โดยการมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด • มีกำหนดวัตถุประสงค์สำหรับผู้จัดการในการสร้างนวัตกรรมและการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม • มีการสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เกิดขึ้นทุกๆ ปีครึ่งถึงสองปี • มีการนำความคิดใหม่ๆ ที่ได้ประเมินไว้มาสร้างให้เกิดประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ • มีการใช้กลยุทธ์ความรวดเร็ว (Speed Strategy) และความสามารถที่เป็นจุดแข็งของผู้ปฏิบัติงานในการสร้างนวัตกรรม • มีการกำหนดช่วงเวลาและวิธีการตอบสนองหรือชักจูงลูกค้า • ด้วยผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ และมีการลดต้นทุนโดยการปรับปรุงกระบวนการ

  15. ด้านโครงสร้าง (Structure) • มีการพัฒนาโครงสร้างองค์การแบบเครื่องจักรกลให้เอื้อต่อการเกิดภาวะผู้ประกอบการ การริเริ่มออกแบบกระบวนการ นวัตกรรมการตลาด และการจัดการ • มีลักษณะการทางานแบบทีมข้ามสายงาน และเปิดโอกาสให้ลูกค้าและซัพพลายเออร์ได้เข้าร่วมในทีมงานคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ ทีมงานออกแบบกระบวนการทีมงานนวัตกรรมการตลาดและการจัดการ • มีการจัดตั้งหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางการวิจัยและคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ การออกแบบกระบวนการ นวัตกรรมการตลาดและการจัดการ • มีการสื่อสารแบบเปิด (Open Communication) ระหว่างศูนย์กลางหรือทีมงานคิดค้นผลิตภัณฑ์ กระบวนการ การตลาด และการจัดการในทุกภาคส่วน

  16. ด้านโครงสร้าง (Structure) • มีโครงสร้างองค์การที่มีความยืดหยุ่น มีความสามารถในการปรับตัวและฉกฉวยโอกาส การปรับโครงสร้างองค์การโดยการก่อตั้งหรือแยกหน่วยธุรกิจออกมาเป็นหน่วยงานขนาดเล็กเพื่อให้สามารถบริหารจัดการด้วยตนเองและทำให้มีอำนาจในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น • มีพันธมิตรในการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ กระบวนการ การตลาด และการจัดการ กลยุทธ์การสร้างพันธมิตรเป็นการร่วมมือระหว่างสององค์การ • มีโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสาหรับการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ออกแบบกระบวนการ นวัตกรรมการตลาดและนวัตกรรมการจัดการองค์การ

  17. ระบบ (Systems) • มีระบบการให้รางวัลกับนวัตกรรม • การให้รางวัลสาหรับผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรม • การให้รางวัลสาหรับพนักงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ส่วนใหญ่มักจะให้รางวัลที่เป็นตัวเงิน • มีการเฉลิมฉลองให้กับความสำเร็จด้านนวัตกรรม • มีระบบข้อมูลข่าวสารการจัดการนวัตกรรม (InnovationManagementInformation Systems: IMIS) • มีระบบการประเมินความคิดสำหรับนวัตกรรม • มีระบบที่นำผลจากห้องทดลองมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดและระบบสาหรับดาเนินการเกี่ยวกับกระบวนการนวัตกรรม

  18. ระบบ (Systems) • มีระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับนวัตกรรมรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ • มีโปรแกรมการให้ข้อเสนอแนะที่มีประสิทธิภาพสำหรับนวัตกรรม

  19. รูปแบบการบริหารจัดการ (Style) • การสร้างวิสัยทัศน์และความมุ่งมั่นทางกลยุทธ์ (Strategic Intent) วิสัยทัศน์ เป็นประโยคที่แสดงถึงแนวทางของ องค์การ และเป็น แรงจูงใจให้พนักงานปฏิบัติตาม • การอนุญาตให้บุคลากรทาผิดพลาดได้ ผู้นาจะต้องอดทนและยอมรับกับความผิดพลาดหรือล้มเหลวที่จะเกิดขึ้นจากการสร้างนวัตกรรม • การให้เวลาในการตัดสินความคิดใหม่ ผู้นำที่ประสบกับความสำเร็จจะต้องรู้จักการรอคอย • การมอบอำนาจและกระจายอำนาจหน้าที่ให้กับบุคคลในการสร้างนวัตกรรม การมอบอำนาจให้แก่พนักงาน

  20. รูปแบบการบริหารจัดการ (Style) • การใช้รูปแบบการจัดการแก้ไขปัญหา ผู้นำในองค์การนวัตกรรมจะต้องมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น • มีการใช้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนรูป (Transformational Leadership) • การใช้วิธีการพิเศษสำหรับการจัดการบุคลากรด้านนวัตกรรม • การสอนงาน (Coaching) • การปกป้องพนักงาน • การพัฒนาความเชี่ยวชาญของพนักงานอย่างเหมาะสม • ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมเพื่อการเพิ่มผลิตภาพ • ส่งเสริมให้พนักงานมีการจัดการด้วยตนเอง (Self-Management) โดยการแบ่งปันข้อมูล • การให้รางวัลและการยอมรับ

  21. พนักงาน (Staff) • บุคลากรขององค์การนวัตกรรมจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์มากกว่าบุคลากรในองค์การรูปแบบอื่นๆ • สรรหาพนักงานที่มีความสามารถในการคิดและการแข่งขัน • มีผู้สร้างความสาเร็จด้านความคิดและนวัตกรรม (Innovation and Idea Champion) • ฝึกอบรมให้บุคลากรมีความคิดสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving: CPS) • การใช้กระบวนการที่สร้างสรรค์ การนำเทคนิคและกระบวนการต่างๆ เข้ามาใช้ในการกระตุ้นและพัฒนาความคิดด้านนวัตกรรม

  22. พนักงาน (Staff) • ส่งเสริมและให้เวลาแก่พนักงานในการสะท้อนความคิดและการปฏิบัติงาน • การสนับสนุนทางกายภาพสาหรับการแลกเปลี่ยนความคิดและการคิดสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อมในการทางานจะช่วยสนับสนุนให้พนักงานมีความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม

More Related