1 / 83

รายวิชาทัศนศิลป์ ศ 30103

รายวิชาทัศนศิลป์ ศ 30103. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 นักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2 554 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี. ภูมิปัญญาไทยกับทัศนศิลป์ : ทัศนศิลป์ในประเทศไทย. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง :

Download Presentation

รายวิชาทัศนศิลป์ ศ 30103

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายวิชาทัศนศิลป์ ศ30103 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 นักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี

  2. ภูมิปัญญาไทยกับทัศนศิลป์ : ทัศนศิลป์ในประเทศไทย

  3. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง : ทัศนศิลป์ที่ผสานภูมิปัญญาจากความเชื่อ ความงาม และประโยชน์ใช้สอย

  4. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง ศูนย์กลางอยู่บริเวณบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี อารยธรรมยุคโลหะ อายุระหว่าง 5,000 – 2,000 ปี

  5. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง ส่วนใหญ่ จะเป็นเครื่องปั้นดินเผา และเครื่องสำริด ที่ตอบสนองความเชื่อ ความศรัทธา สื่อสภาพความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ของบรรพบุรุษเรา เมื่อหลายพันปีก่อนได้ ในปี พ.ศ. 2535องค์การยูเนสโก้ ได้ประกาศให้แหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงเป็น เมืองมรดกโลก

  6. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง ศิลปะบ้านเชียง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ดังนี้1. ยุคแรกเริ่มยุคนี้มักจะมีปล้องตรงกลางยื่นออกมา จะเผาจนดำ ลวดลายรูปทรงเรขาคณิต เป็นริ้วๆ แบบหยาบๆ จากการนำเชือกปอมาทาบ ผลงานในยุคนี้มีขนาดเล็ก

  7. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง : ทัศนศิลป์ที่ผสานภูมิปัญญาจากความเชื่อ ความงาม และประโยชน์ใช้สอย

  8. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง 2. ยุคกลาง แต่งด้วยสีธรรมชาติโทนแดง-ส้ม รูปทรงก็พัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น นิยมปั้นฐานเป็นทรงกลม

  9. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง 3. ยุคหลัง ขุดพบเป็นจำนวนมาก ลักษณะรูปทรงจะมีส่วนโค้งเว้าอ่อนช้อยมากขึ้น ลวดลายก็มีความวิจิตรสวยงามมากกว่ายุคก่อน มีการใช้ลายเส้นหนาสลับกับ รูปทรงเรขาคณิตในแบบต่างๆ และมีการเคลือบโคลนแดงขัดมัน

  10. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง การซ้อนทับกันหลายสมัย แบ่งได้เป็น 3 ยุคใหญ่ๆ สังเกตได้จากโบราณวัตถุที่ขุดพบจะมีลักษณะแตกต่างกัน

  11. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง ลวดลาย 6 กลุ่มที่พบ ลายเส้นโค้ง / ลายก้านขด / ลายก้นหอย / ลายเรขาคณิต ลายดอกไม้ / ลายรูปสัตว์ ยุคแรก ยุคหลัง

  12. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง เครื่องใช้และเครื่องประดับ หิน แก้ว และกำไลสำริด หินใหญ่ ลูกกลิ้งบนเครื่องปั้นดินเผาหรือผ้า ลูกปัดแก้ว รูปทรงถังเบียร์สีเขียว ที่ขุดพบ น่าอัศจรรย์ กับเครื่องประดับแก้ว ลูกปัดหลากรูปแบบ หลอดตะกรุด ตุ้มหู สร้อย หลักฐานการแลกเปลี่ยน กับแถบอินเดีย และดินแดนเอเชียแถบนี้

  13. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง Plan ตำแหน่ง และทิศทางการจัดเรียงศพ และภาชนะประกอบพิธีกรรม

  14. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง พบกระดูกสุนัข ( ครั้งยังเป็นสัตว์ป่า ) และการใช้เทคโนโลยี ประกอบรูปร่างขึ้น

  15. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง อารยธรรมยุคโลหะ ยุคที่สามารถพัฒนางานสำริดและเหล็กควบคู่กัน

  16. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย อารยธรรมบ้านเชียง

  17. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : พุทธศตวรรษที่ 11- 16 ทัศนศิลป์ที่ส่งผ่านพุทธศาสนา จาก....ชมพูทวีป สู่....แผ่นดินสยาม

  18. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : ศูนย์กลางอยู่ที่ ภาคกลางโดยเฉพาะจังหวัดนครปฐม และราชบุรี

  19. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : ศูนย์กลางอยู่ที่ ภาคกลางโดยเฉพาะ จังหวัดนครปฐม และราชบุรี ส่วนใหญ่เป็นประติมากรรมสลักหินที่เกี่ยวข้องกับ พุทธศาสนาลัทธิมหายาน เมืองสมัยประวัติศาสตร์ยุคแรกของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการค้าและศูนย์กลางพระพุทธศาสนา

  20. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : พุทธศตวรรษที่ 11- 16 พระพุทธรูปสมัยทวารวดี ได้รับอิทธิพลทางศิลปะ จากพระพุทธรูปสมัยคุปตะ ที่แพร่หลายอยู่ทางภาคกลางและตะวันตก ของอินเดีย พระพักตร์ที่ค่อนข้างกลมใหญ่ พระขนงที่หนายาวโค้งติดต่อกันคล้ายรูปปีกกา พระเนตรที่โปนใหญ่ พระนาสิกที่งุ้มแบน พระโอษฐ์ที่หนา และขมวดพระเกศาที่เป็นตุ่มกลมขนาดใหญ่

  21. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี :

  22. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : พุทธศตวรรษที่ 11- 16 พบพระพุทธรูปดินเผา สำริด ภาพปูนปั้นตกแต่งสถาปัตยกรรม เป็นจำนวนมาก พระเศียรพระพุทธรูปดินเผา หม้อดินเผา ปากกว้าง 12 เซนติเมตร ประติมากรรมดินเผารูปพระสงฆ์ 3 องค์อุ้มบาตร

  23. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : พุทธศตวรรษที่ 11- 16 พระพุทธรูปสมัยทวารวดี ที่พบจากวัดร้างอยู้ใกล้วัดเพรง พ.ศ. 2496ปัจจุบันอยู่วัดพระมหาธาตุ จังหวัดราชบุรี

  24. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยทวาราวดี : ปูนปั้นชิ้นเอกของเมืองคูบัว ราชบุรี ภาพ ปัญจดุริยสตรี อันเป็นเอกลักษณ์ของทวารวดี นักดนตรีชั้นสูงกลับเป็น หญิง ในขณะที่ในอินเดียนักดนตรีจะเป็น"ชาย" แสดงให้เห็นว่า ลัทธิชายเป็นใหญ่ ของอินเดียถูกผสมผสาน ด้วยพื้นเมืองนิยม ดั่งสิทธิสตรีของสุวรรณภูมิ ไม่ได้ต่ำไปกว่าชาย อีกหนึ่งในปริศนา ที่ยังคงเป็นข้อถกเถียงกัน ของปรากฏการณ์ทวารวดี !!!

  25. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 พุทธปฎิมากรรมลัทธิมหายาน ที่ถึงพร้อมคุณค่าทาง สุนทรียะ และเทคนิค การหล่อสำริด

  26. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 แถบบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย ศูนย์กลางที่อำเภอไชยา สุราษฎร์ธานี ทั้งยังพบกระจายอยู่ทั่ว ตามหมู่เกาะชวา สุมาตรา มาเลเซีย ส่วนใหญ่จะเป็นผลงานประติมากรรม หล่อสำริดและ สลักหิน มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธรูป เทวรูป ตามพุทธศาสนาลัทธิมหายาน นิยมสร้างพระโพธิสัตว์มากกว่า พระพุทธรูป

  27. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 Sailendra, Central Java Jambi, Sumatra พบที่ควนสราญรมย์ อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๔ พบที่วัดศาลาทึง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี ย้ายมาจาก วัดพระบรมธาตุไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

  28. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 ทัศนศิลป์แบบศรีวิชัย ได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะอินเดียแบบคุปตะ หลังคุปตะ ปาละเสนะ

  29. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 พระพุทธรูปศิลา พิพิธภัณฑสถานเมืองสารนาถ ศิลปอินเดียแบบคุปตะ พุทธศตวรรษที่ ๑๐ พระศอและข้อพระหัตถ์ทั้งสอง มีรอยหยักแสดงขอบผ้า พระธยานิพุทธไวโรจนะศิลา บนลานชั้นบนของพระสถูปบุโรพุทโธ เกาะชวา พุทธศตวรรษที่ ๑๓ เน้นลักษณะมหาบุรุษ รอบพระศอและข้อพระหัตถ์ทั้งสองมีรอยหยักของผ้า

  30. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 พระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ (พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร) ศิลปะศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๕) พบที่วัดพระบรมธาตุไชยา อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี มีความงดงามทางรูปแบบ และมีทักษะการหล่อสำริดสูงมาก

  31. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 พระพุทธรูปแสดงปางมารวิชัย ภายใต้พังพานนาค ศิลปะศรีวิชัย (พ.ศ. ๑๗๒๖) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงนำมาจากวัดเวียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ย้ายไปประดิษฐาน ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ภายหลังย้ายไปจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เมื่อ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๑

  32. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยศรีวิชัย : พุทธศตวรรษที่ 13- 16 ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยา รัตนโกสินทร์

  33. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16- 18 สัมพันธภาพระหว่างลักษณะรูปแบบทัศนศิลป์ ภายใต้อิทธิพล ศิลปกรรม ขอม

  34. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16- 18 ทัศนศิลป์ที่มีส่วนคล้ายคลึงกับ ขอม รุ่งเรืองอยู่บริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย พบทั้งประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม ศิลปวัตถุส่วนใหญ่ ทำจากศิลา และสำริด

  35. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16- 18 พระพุทธรูปสมัยลพบุรี จะมีลักษณะรูปแบบศิลปะใกล้เคียงกับ ศิลปะแบบนครวัด

  36. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16- 18 นิยมสร้างพระพุทธรูป แบบนาคปรก พระพุทธรูปขนาดใหญ่ จะสลักด้วยหินทราย ขนาดเล็ก จะหล่อด้วยสำริด ทัศนศิลป์ลพบุรีพบประติมากรรม รูปพระอิศวร พระนารายณ์ พระวิศวกรรม

  37. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16- 18 เทวรูปพระนารายณ์ เทวรูปพระศิวะ เทวรูปพระวิษณุกรรม พระพิฆเณศ เนื้อทองคำ

  38. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16- 18 ทัศนศิลป์สมัยลพบุรี ปรากฏประติมากรรมภาพเหมือน พระบรมสาทิสลักษณ์ พระชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายของขอม สลักด้วยศิลา พบที่ปราสาทหินพิมาย โคราช

  39. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 ทัศนศิลป์ สมัยประวัติศาสตร์ รุ่นแรกของ ไทย

  40. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 ศูนย์กลางอยู่ทาง ภาคเหนือของไทย จุดเริ่มต้นของศิลปกรรมสมัยประวัติศาสตร์ของไทย รูปแบบทัศนศิลป์บ่งบอก เชื้อชาติ และ วิถีชีวิตของไทยอย่างชัดเจน เกิดในพุทธศาสนาลัทธิหินยาน และ พุทธศาสนาลัทธิมหายาน นิยมสร้างพระพุทธรูปด้วย สำริดแก้ว หินสี

  41. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 พระพุทธรูปเชียงแสนรุ่นแรก : ลักษณะคล้ายพระพุทธรูปแบบปาละ ของอินเดีย

  42. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 พระพุทธรูปเชียงแสนรุ่นที่ 2: อิทธิพลทัศนศิลป์สุโขทัยเข้ามาปะปน

  43. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 พระพุทธรูปเชียงแสนรุ่นหลัง : ปรากฏพระพุทธรูปทรงเครื่องเล็กน้อย อาจหมายถึง พระอนาคตพระพุทธเจ้า นิยมแก้วและหินสี

  44. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 พระแก้วมรกต ตำนานกล่าวว่า ได้ค้นพบ ในพระเจดีย์ เมืองเชียงราย ปี พ.ศ. 1977

  45. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยสุโขทัย : พุทธศตวรรษที่ 19- 21 ความงดงามสูงสุด ของ พุทธปฎิมากรรมไทย

  46. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยสุโขทัย : พุทธศตวรรษที่ 19- 21 เกี่ยวเนื่องกับพุทะศาสนาลัทธิมหายาน นิกายลังกาวงศ์ เป็นพุทธประติมากรรมไทยที่งดงามที่สุด มีลักษณะเฉพาะตัวมากที่สุด แฝงอิทธิพล ทัศนศิลป์ลังกาอยู่บ้าง สมัยสโขทัยนิยมสร้างพระพุทธรูป 4 อิริยาบถ คือ นั่ง นอน ยืน เดิน เทคนิคหล่อโลหะ ปูนปั้น และแกะสลัก

  47. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 พระพุทธรูปปูนปั้นที่มีชื่อเสียง และมีความงดงามยิ่งนั้น อยู่ที่วัดตระพังทองหลาง เมืองสุโขทัยเก่า ปางเสด็จลงมาจากดาวดึงส์

  48. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยเชียงแสน : พุทธศตวรรษที่ 17- 19 เข้าสู่ยุคเริ่มต้นของจิตรกรรมไทย จิตรกรรมวัดเจดีย์เจ็ดแถว สุโขทัย ภาพสลักลายเบา บนหินชนวน วัดศรีชุม สุโขทัย ภาพพระพุทธรูปปางลีลาบนดอกบัว บนแผ่นทองสำริด วัดเสด็จ กำแพงเพชร

  49. ภูมิปัญญาไทยกับทัศนศิลป์ภูมิปัญญาไทยกับทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ สุโขทัย

  50. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยอยุธยา : พ.ศ. 1893 - 2310 วิจิตร แห่งจิตรกรรม และประติมากรรม ตกแต่งที่แพรวพราว

More Related