1 / 29

บทที่ 3 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory)

บทที่ 3 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory). ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล. ประเด็นบทที่ 3. ความหมายของการตัดสินใจ สภาวะของการตัดสินใจ ประเภทของการตัดสินใจ ขั้นตอนการตัดสินใจ วิธี เทคนิคการตัดสินใจ. ความหมายของการตัดสินใจ.

leola
Download Presentation

บทที่ 3 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 ทฤษฎีการตัดสินใจ(Decision Theory) ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล

  2. ประเด็นบทที่ 3 • ความหมายของการตัดสินใจ • สภาวะของการตัดสินใจ • ประเภทของการตัดสินใจ • ขั้นตอนการตัดสินใจ • วิธี เทคนิคการตัดสินใจ

  3. ความหมายของการตัดสินใจความหมายของการตัดสินใจ • การตัดสินใจ(decision) หมายถึง การเลือกกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดจากทางเลือกที่มีอยู่ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์อย่างที่ตนเองมุ่งหวังให้เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ตรงไป ทางซ้าย ทางขวา

  4. สภาวะของการตัดสินใจ • ประเด็นที่ต้องตัดสินใจ • การตัดสินใจเฉพาะตัว(individualdecision) • การตัดสินใจทางธุรกิจ(business decision) • การตัดสินใจทางสังคม(social decision) • 2) ผู้ตัดสินใจ • การตัดสินใจโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง(individual decision making) • การตัดสินใจมักจะเป็นหมู่คณะ(group decision making) • 3) สภาวะที่ต้องเผชิญในการตัดสินใจ • ปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้อง(internal factor) • และปัจจัยภายนอก(external factor)

  5. ภายใต้การตัดสินใจต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่สำคัญ 2 ประการได้แก่ • สภาพแวดล้อมภายใต้การควบคุม คือ องค์ประกอบที่เกิดขึ้นจากภายในที่สามารถกำหนดให้คงที่หรือเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ตามที่ต้องการ โดยอาจมีผลหรือไม่มีผลต่อการตัดสินใจก็ได้ • สภาพแวดล้อมนอกการควบคุม(state of nature) คือ ผลรวม(combination) ขององค์ประกอบที่เกิดขึ้นจากภายนอก ซึ่งเป็นสิ่งที่นอกเหนือการควบคุมจากภายใน และส่งผลให้การตัดสินใจ

  6. ความแน่นอน (certainty) หมายถึง ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจรู้ได้อย่างแน่นอนถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากแต่ละทางเลือก • การเสี่ยง (risk) หมายถึง ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจไม่รู้ถึงผลลัพธ์อย่างแน่นอน แต่ผู้ตัดสินใจพอจะสามารถรู้ได้บ้างว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นนั้นจะเป็นอย่างไร โดยอาศัยการคาดคะเน • ความไม่แน่นอน (uncertainty) หมายถึง ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจไม่รู้ถึงผลลัพธ์ หรือแม้แต่จะคาดคะเนก็ไม่สามารถทราบได้ว่าจะเกิดผลลัพธ์อย่างไร

  7. กระบวนการตัดสินใจ • การกำหนดปัญหา (Intelligent Phase) • การค้นหาปัญหา • การแบ่งประเภทของปัญหา • การแตกย่อยปัญหาให้เล็กลง • การหาเจ้าของหรือที่มาของปัญหา • การออกแบบ (Design Phase) • ตัวแปรในตัวแบบเชิงปริมาณ

  8. ตัวแปรในตัวแบบเชิงปริมาณตัวแปรในตัวแบบเชิงปริมาณ • ตัวแปรผลลัพธ์ (Result Variables) หรือ ตัวแปรตาม (Dependent variables) • ตัวแปรตัดสินใจ (Decision Variables) • ตัวแปรที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Uncontrollable Variables หรือ Parameters) • ตัวแปรผลลัพธ์ระหว่างกลาง (Intermediate Result Variables)

  9. การเลือก (Choice Phase) • วิธีการเชิงวิเคราะห์ (Analytical Techniques) • วิธีการค้นหาแบบเดา (Blind Search Approaches) • วิธีการค้นหาแบบฮิวริสติก (Heuristic Search Approaches) • การนำไปปฏิบัติ (Implementation Phase) • การสร้างตัวแบบตัวแบบเชิงขนาด (Iconic หรือ Scale Models)ตัวแบบเชิงอุปมา (Analog Models) และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical หรือ Quantitative Models)

  10. การตรวจสอบ (Monitoring Phase) • การประเมินทางเลือก • การประเมินในด้านของจุดประสงค์ที่หลากหลาย • การประเมินในแง่ของความอ่อนไหว

  11. ตัดสินใจ กำหนดทางเลือก กำหนดเหตุการณ์ วิเคราะห์ผลลัพธ์ กำหนดเกณฑ์ การตัดสินใจ แบบแผนหรือกระบวนการตัดสินใจหรือตัวแบบในการตัดสินใจ วิเคราะห์ปัญหา

  12. แขนงและตัวแบบการตัดสินใจแขนงและตัวแบบการตัดสินใจ การใช้แขนงการตัดสินใจจะมี 2 ขั้นตอนคือ การสร้างแขนงการตัดสินใจและการวิเคราะห์แขนงการตัดสินใจ การสร้างแขนงการตัดสินใจ ข้อมูลที่จำเป็นในการสร้างแขนงการตัดสินใจได้แก่ • ทางเลือกของการตัดสินใจ • สภาวการณ์นอกเหนือการบังคับต่างๆ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ต่างๆ ที่เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • ผลตอบแทน ที่จะได้รับจากการเกิดขึ้นของเหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ • ความน่าจะเป็น ที่สภาวการณ์นอกเหนือการบังคับต่าง ๆ จะเกิดขึ้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มักจะได้มากจากการคาดคะเนของผู้บริหารที่จะทำการตัดสินใจ

  13. สัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้ในการสร้างแขนงการตัดสินใจสัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้ในการสร้างแขนงการตัดสินใจ • 1) สี่เหลี่ยม ใช้แทนจุดของการตัดสินใจ เรียกสัญลักษณ์นี้ว่า decision node • 2) วงกลม ใช้แทนจุดของการเกิดสภาวการณ์นอกเหนือการบังคับ เรียกสัญลักษณ์นี้ว่า state of nature node • 3) เส้นตรง ใช้แทนทางเลือกต่างๆ และใช้แทนเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ เรียกสัญลักษณ์นี้ว่า branches หรือแขนง

  14. ประเภทของการตัดสินใจ • การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน (decision making under certainty) • การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง (decision making under risk) • การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (decision making under uncertainty) • ก) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนมากที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มากที่สุด (Maximax Criterion) • ข) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนน้อยที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มากที่สุด (Minimax Criterion) • ค) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนมากที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่น้อยที่สุด (Maximin Criterion) • ง) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่าเสียโอกาสน้อยที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มีค่าเสียโอกาสมากที่สุด (Minimax Regret Criterion) • จ) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่าที่มากที่สุดของส่วนต่างค่าคาดหวังที่จะได้รับมากที่สุดกับค่าคาดหวังที่น้อยที่สุด (Pessimism Optimism Index หรือ Hurwicz Criterion) • ฉ) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่ามากที่สุดของค่าเฉลี่ยจากผลรวมทุกเหตุการณ์ (principle of insufficient reason หรือ Laplace Criterion)

  15. การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน (decision making under certainty) • พิจารณาผลตอบแทน • พิจารณาต้นทุน Yjคือ ทางเลือก j aijคือ ค่าสัมประสิทธิ์ของ เหตุการณ์i จากทางเลือก j xijคือ ค่าของเหตุการณ์i จากทางเลือก j

  16. ตัวอย่าง การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน ตารางแสดงผลได้ของบริษัท

  17. สูง 50 ปานกลาง 25 แขนงการตัดสินใจ ขยายโรงงาน ต่ำ -25 เลือกสร้างโรงงาน หากใช้เกณฑ์ Max ไม่มี -45 สูง 70 ปานกลาง 30 สร้างโรงงาน บริษัทลงทุน ต่ำ -40 ไม่มี -80 สูง 30 จ้างบริษัท ปานกลาง 15 ต่ำ -1 ไม่มี -10

  18. ตัวอย่าง การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน ตารางแสดงค่าเสียโอกาสของบริษัท

  19. สูง 70 ปานกลาง 30 แขนงการตัดสินใจ ขยายโรงงาน ต่ำ -1 ไม่มี -10 สูง 50 ปานกลาง 25 สร้างโรงงาน บริษัทลงทุน ต่ำ -1 ไม่มี -10 เลือกสร้างโรงงาน หากใช้เกณฑ์ Min สูง 70 จ้างบริษัท ปานกลาง 30 ต่ำ 0 ไม่มี 0

  20. การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง (decision making under risk) • การพิจารณาทางเลือกโดยใช้ค่าคาดหวัง (Expected Value: EV) • การพิจารณาทางเลือกโดยใช้ค่าเสียโอกาส (Expected Opportunity Value: EOL) Max Axi = EV Min Bxi = EOL

  21. ตัวอย่างการพิจารณาทางเลือกโดยใช้ค่าคาดหวัง (Expected Value: EV) ตารางแสดงผลได้ของบริษัท

  22. ตัวอย่างการพิจารณาทางเลือกโดยใช้ค่าเสียโอกาส (Expected Opportunity Value: EOL)

  23. การพิจารณาทางเลือกที่มีค่าของเหตุการณ์ที่ดีที่สุด หรือตัวแบบการพิจารณาทางเลือกที่มีข่าวสารสมบูรณ์ที่สุด (Expected Value Perfect Information: EVPI) หรือ EPPI = W EVPI = C = EPPI-EV

  24. ตัวอย่าง Expected Value Perfect Information: EVPI ตารางแสดงผลได้ของบริษัท

  25. การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (decision making under uncertainty) • เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนมากที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มากที่สุด (Maximax Criterion) • เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนน้อยที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มากที่สุด (Minimax Criterion) ตัวแบบการเลือก ตัวแบบการเลือก

  26. ตัวแบบการเลือก ตัวแบบการเลือก เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนมากที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่น้อยที่สุด (Maximin Criterion) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่าเสียโอกาสน้อยที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มีค่าเสียโอกาสมากที่สุด (Minimax Regret Criterion)

  27. ตัวแบบการเลือก ตัวแบบการเลือก เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่าที่มากที่สุดของส่วนต่างค่าคาดหวังที่จะได้รับมากที่สุดกับค่าคาดหวังที่น้อยที่สุด (Pessimism Optimism Index หรือ Hurwize Criterion) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่ามากที่สุดของค่าเฉลี่ยจากผลรวมทุกเหตุการณ์ (principle of insufficient reason หรือ Laplace Criterion)

  28. ตอบ ค่าคาดหวังในการดำเนินโครงการ 0.6

  29. การตัดสินใจตามลำดับขั้นการตัดสินใจตามลำดับขั้น

More Related