1 / 20

ทัศนมิติของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน ( Perspectives of HCRD ) ผศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ

ทัศนมิติของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน ( Perspectives of HCRD ) ผศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ. วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. การศึกษา การฝึกอบรม การประชุมสัมมนา การศึกษาดูงาน การให้คำปรึกษา การสอนงาน การพัฒนาสายอาชีพ การบริหารผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาองค์การ. การพัฒนารายบุคคล.

Download Presentation

ทัศนมิติของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน ( Perspectives of HCRD ) ผศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทัศนมิติของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน (Perspectives of HCRD) ผศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ

  2. วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การศึกษา • การฝึกอบรม • การประชุมสัมมนา • การศึกษาดูงาน • การให้คำปรึกษา • การสอนงาน • การพัฒนาสายอาชีพ • การบริหารผลการปฏิบัติงาน • การพัฒนาองค์การ การพัฒนารายบุคคล

  3. การพัฒนารายบุคคล (Individual Development) • เป็นงานที่มุ่งเน้นส่วนบุคคล • เกิดผลในระยะสั้น • การพัฒนาความรู้ ทักษะ • ปรับพฤติกรรมในการทำงาน

  4. เครื่องมือที่สำคัญในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรเครื่องมือที่สำคัญในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร • ใบกำหนดหน้าที่ (Job Description: JD) • ตัวชี้วัด (KPI) รายบุคคล • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • แผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล (IDP) • การเลื่อนขั้นเงินเดือน/การให้รางวัลพนักงาน • การเลื่อนตำแหน่ง/เส้นทางอาชีพ • การพ้นจากงาน

  5. KPI ตัวชี้วัด ข้อมูลเชิงประจักษ์หรือค่าทางสถิติที่เปรียบเสมือนเป็นเครื่องมือวัดหรือตัวชี้บอกถึงกระบวนการดำเนินงานและผลการปฏิบัติงานของบุคคล/หน่วยงาน ว่าเป็นไปตามภารกิจและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้มากน้อยเพียงไร

  6. ตัวอย่าง KPI ฝ่ายขาย • มูลค่ายอดขาย • จำนวนสินค้าที่ขายได้ • จำนวนลูกค้าที่ติดต่อเข้ามาเอง • ร้อยละลูกค้าใหม่ที่ซื้อสินค้า • ร้อยละที่ลูกค้ารู้จักสินค้า/บริการ/บริษัท (แบบสำรวจ) • ยอดสั่งซื้อเฉลี่ยต่อราย

  7. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • เป็นกระบวนการที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อวัดคุณค่า ขีดความสามารถ ความรู้ ทัศนคติของแต่ละคน ที่มีต่อองค์กรและการปฏิบัติงาน • เป็นวิธีการในการบริหารงานบุคคล • เป็นเครื่องมือหลักอย่างหนึ่งในการควบคุมและ กำกับคนในองค์กรเพื่อ “ประสิทธิภาพ”และ “เป้าหมาย” ในการทำงาน

  8. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน สมรรถนะ/ขีดความสามารถ (Competency) 1.ขีดความสามารถหลัก (Core Competency) คือ บุคลิกลักษณะการแสดงออกของพฤติกรรมโดยรวม 2.ขีดความสามารถด้านการบริหาร (Managerial Competency) คือ ความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการ 3.ขีดความสามารถตามตำแหน่งงาน (Functional Competency) คือ ความรู้ ความสามารถ ทักษะในงานที่รับผิดชอบ

  9. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • ประโยชน์สำหรับใช้ตัดสินใจ... • การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงกว่าเดิม • การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน • การยกย่องชมเชย • การสร้างขวัญกำลังใจในการทำงาน • การพัฒนาและปรับปรุงคน

  10. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ปัจจัยที่ต้องพิจารณา… 1.กำหนดมาตรฐานของการปฏิบัติงาน งานบริหาร งานบริการ งานปฏิบัติการ 2.กำหนดผู้ที่จะทำการประเมิน คณะกรรมการ หรือ กลุ่มบุคคล(ผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน ผู้รับบริการ)

  11. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • รูปแบบการประเมิน • แบบมาตราส่วน (rating scale) -เก่าแก่+นิยม • การจัดลำดับที่ • การให้น้ำหนักคะแนน • การประเมินจากเหตุการณ์สำคัญ

  12. การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • ข้อพึงระวังในการประเมิน... • การมีอคติส่วนตัว • การทำลายขวัญกำลังใจ • การสูญเสียอำนาจในการบังคับบัญชา • สัมพันธภาพ • สะท้อนผลเฉพาะบุคคล

  13. การเรียนรู้ (ช่องทางการสื่อสารในองค์กร) • การฝึกอบรมในห้องเรียน • การประชุมของหน่วยงาน • หนังสือเวียน/ส่งเมล์ • อินทราเน็ต • บอร์ด/ป้ายประกาศ • แผ่นพับ/ใบปลิว • เสียงตามสาย

  14. การสร้างทีมงาน: วงจรคุณภาพ (QC) • ประชุมปรึกษาหารือ 3 - 12 คน • การระดมสมอง • เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ปัญหา • - ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม • - ความปลอดภัยในการทำงาน • - การเพิ่มผลผลิต

  15. Peter Senge: Learning Organization (LO) • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร • การเพิ่มผลผลิต/การบริการ • การแข่งขันทางเศรษฐกิจในระดับโลก

  16. Peter Senge: Learning Organization (LO)

  17. Peter Senge: Learning Organization (LO) • องค์ประกอบ LO 5 ประการ • การคิดเชิงระบบ • ความคิดในเชิงบวก • ความรอบรู้ • การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม • การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม

  18. Knowledge management (KM) คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และ ปัญญา ในที่สุด

  19. การวินิจฉัยองค์การ (SWOTAnalysis)

  20. เทคนิคการพัฒนาองค์กร • การปรับรื้อระบบ (reengineering) • การคิดใหม่ (rethinking) • การออกแบบใหม่ (redesign) • การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ (reorganization) • การเทียบเคียงมาตรฐาน (benchmarking) • การมอบอำนาจ (empowering) • การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)

More Related