1 / 82

ผลการดำเนินงานตาม Service Plan ๑๐ สาขา คณะที่ ๗ District Health System ( DHS )

๒ . การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้. ผลการดำเนินงานตาม Service Plan ๑๐ สาขา คณะที่ ๗ District Health System ( DHS ) ๒) การจัดบริการร่วม ๓) ผลการจัดบริการเฉพาะ. ๒ . ๑๐ ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System

lel
Download Presentation

ผลการดำเนินงานตาม Service Plan ๑๐ สาขา คณะที่ ๗ District Health System ( DHS )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ๒.การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน๒.การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ผลการดำเนินงานตาม Service Plan ๑๐ สาขา คณะที่ ๗ District Health System(DHS) ๒) การจัดบริการร่วม ๓) ผลการจัดบริการเฉพาะ

  2. ๒.๑๐ ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและ ท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐)

  3. การบริหารจัดการ DHS ในภาพจังหวัด ในปี ๒๕๕๗

  4. 1 จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา DHS จังหวัดยโสธร Yasothon DHS Stratagic Plan ๒๕๕๗- ๒๕๕๙

  5. วิสัยทัศน์ของการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ จังหวัดยโสธร ภายในปี ๒๕๕๙ เป็นเครือข่ายบริการสุขภาพชั้นนำในระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี To be the best one of Health Service Network in the health region 10 in term of participation for healthy of the people

  6. พันธกิจ • จัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน • ประสานความร่วมมือในเครือข่ายเพื่อการจัดบริการอย่างมีคุณภาพและครอบคลุม • วิจัยและสนับสนุนงานวิชาการเพื่อสร้างองค์ความรู้ในการจัดบริการสุขภาพ • บริหารจัดการเพื่อให้การจัดบริการสุขภาพ

  7. ปรัชญาเครือข่ายเพื่อสุขภาวะ Yasothon Healthy Network = YHNค่านิยมPunctual ตรงต่อเวลาAccountability รับผิดชอบDiscipline มีวินัยIntegrity ซื่อสัตย์Team work การทำงานเป็นทีม

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. ส่งเสริมและพัฒนาการจัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ๒. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ๓. พัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติ ๔. ปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและไร้รอยต่อ ๕. ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้และนวตกรรมเพื่อการพัฒนาระบบ ๖. เร่งรัดการจัดบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

  9. ๒. ยกร่าง /ปรับปรุงคำสั่งการพัฒนา DHS ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ๓. สนับสนุนงบประมาณ วิชาการ ๔. นิเทศติดตาม ประเมินผล

  10. ผลการดำเนินงาน การประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 คือ การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity Team) องค์ประกอบที่ 2คือ การทำงานจนเกิดคุณค่า (Appreciation) องค์ประกอบที่ 3คือ การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร (Resource sharing and human development) องค์ประกอบที่ 4 คือ การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care ) องค์ประกอบที่ 5คือ การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Community participation)

  11. ผลการดำเนินงาน ทุกอำเภออำเภอผ่านการประเมิน ๕ ข้อ อย่างน้อยระดับ ๓ ภาพรวมของจังหวัด ผลการประเมินอยู่ในระดับ ๓ ร้อยละ ๑๐๐ ของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ

  12. หนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพ ODOP ปี ๒๕๕๗

  13. พื้นที่นำร่อง เสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System Management Learning: DHML) ๑) เครือข่ายสุขภาพอำเภอมหาชนะชัย ๒) เครือข่ายสุขภาพคำเขื่อนแก้ว ๓) เครือข่ายสุขภาพอำเภอกุดชุม ๔) เครือข่ายสุขภาพอำเภอป่าติ้ว

  14. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) โดย ทีมพัฒนาคุณภาพจังหวัดยโสธร

  15. ๑. CUP Management ๒. ระบบหมอครอบครัว/CBL DHS ๓. PCA - Essential Care • Self-care • ตามบริบท ๔.ODOP ๕. ภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพชุมชน

  16. การวางแผนในปี ๒๕๕๗ • CUP Management /ODOP • ระบบหมอครอบครัว • PCA • ภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพชุมชน

  17. แผนงาน/โครงการในระดับจังหวัดแผนงาน/โครงการในระดับจังหวัด • ๑. CUP Management /ODOP • โครงการพัฒนารูปแบบ ส่งเสริมศักยภาพการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับ • อำเภอ District Health System (DHS) • โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ โดยกระบวนการ • เรียนรู้ใช้บริบทเป็นฐาน (Context Based Learning: CBL) ๒. ระบบหมอครอบครัว/FP - โครงการพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิจังหวัดยโสธร - พื้นที่นำร่อง ให้บริการตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว อำเภอต้นแบบ ปี 56 เลิงนกทา อำเภอ ไม่มี Fam.med อำเภอป่าติ้ว อำเภอ ที่มี Fam.med อำเภอกุดชุม - โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขก่อนประจำการ

  18. ๓. PCA • โครงการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ สู่มาตรฐานคุณภาพการบริการตามเกณฑ์มาตรฐานเครือข่ายบริการปฐมภูมิ(Primary Care Award) • ๔. ภาคีเครือข่าย • โครงการส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานตำบลจัดการ • สุขภาพ จังหวัดยโสธร • โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ • หมู่บ้าน(อสม.) : เชี่ยวชาญ จังหวัดยโสธร

  19. ๒.๒ การจัดบริการร่วม

  20. ๒.๒.๑ การจัดบริการกำลังคนร่วม กลุ่มแพทย์ • รพ.ยโสธร /รพช. สนับสนุนแพทย์ในกรณีที่มีความขาดแคลน • รพ.ยโสธร ขอสนับสนุนแพทย์อายุรกรรมจาก รพศ./รพ.ร้อยเอ็ด มาให้บริการเดือนละ ๒ ครั้ง ๓) การบริการกำลังคนร่วมภาพโซน - โซนเหนือ รพร. เลิงนกทา สนับสนุนอำเภอกุดชุม ไทยเจริญ - โซนกลาง รพ.ยโสธร สนับสนุนอำเภอป่าติ้ว และอำเภอทรายมูล - โซนใต้ รพ.คำเขื่อนแก้ว สนับสนุนอำเภอมหาชนะชัย และอำเภอค้อวัง

  21. ทุกอำเภอมีการสนับสนุนแพทย์เพื่อดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง หรือ ผู้ป่วยที่ต้องพบแพทย์ มีแผนเยี่ยมที่ชัดเจน อาทิ - ทีมกุมารแพทย์ ของอำเภอเลิงนกทา ออกตรวจและคัดกรองเด็กที่มีภาวะพัฒนาการล่าช้า โรคหัวใจในเด็ก ในทุก รพสต . สัปดาห์ละ 3 ครั้ง - อำเภอกุดชุม ตรวจรักษาโรคเรื้อรังในรพ.สต.หลัก ๖ แห่งในวันหยุดราชการ ๑-๒ ครั้ง/เดือน เป็นต้น

  22. กลุ่มทันตแพทย์มีการสนับสนุนทันตแพทย์ ให้บริการหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ นอกจากนี้ทุกอำเภอได้มีการสนับสนุนทันตแพทย์ ทันตาภิบาล ให้บริการเชิงรุกในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ไม่มีทันตบุคลากร กลุ่มพยาบาล มีการจัดพยาบาลให้บริการ อาทิเช่น โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทาจัดบริการพยาบาลเฉพาะทางตา และพยาบาลPD nurse ออกตรวจร่วมกับโรงพยาบาลแม่ข่ายและรพช.ในเขตจังหวัดยโสธร เป็นต้น

  23. กลุ่มสหวิชาชีพอื่น ๆ ทุกอำเภอได้มีการจัดทีมสหวิชาชีพ ออกให้บริการในรพ.สต. การช่วยเหลือกันในแต่ละวิชาชีพ เช่น กลุ่มเทคนิคการแพทย์ กลุ่มนักกายภาพบำบัด กลุ่มนักรังสี กรณีที่มีความขาดแคลน โดยไปปฏิบัติงานทดแทนกัน

  24. ๒.๒.๒ การจัดบริการกำลังคนร่วม ๑) รพ.ยโสธร ประสานส่งต่อผู้ป่วยจากจังหวัดในการดูแลต่อเนื่องมานอนรักษาต่อ ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วย CVA , มีแผล Bed sore , แผล NF ,ผู้ป่วยศัลกรรม ที่ต้องมา traction ต่อ โดยได้สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือในการรักษาพยาบาล และมีการประสานเรื่องการรักษาที่ต่อเนื่อง โดยมาใช้เตียงในตึกผู้ป่วยในของโรงพยาบาลชุมชนแทน ๒) รพ.ชุมชนทุกแห่งได้มี ได้มีการประสานการจัดบริการเตียงร่วมในกรณีมีผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาต่อเนื่อง เช่น ผู้ป่วยวัณโรค ที่ต้องได้รับยาฉีด ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการทำแผลทุกวัน หรือผู้ป่วยอื่น ๆ ที่ไม่จำเป็นต้องนอนรักษาตัวที่ รพ.ชุมชน จะมีการประสานงานเพื่อการดูแลต่อเนื่องอย่างชัดเจน

  25. ๒.๒.๓ การจัดบริการเครื่องมือแพทย์ร่วม ๑) เครื่องตรวจจอประสาทตา ในภาพรวมของจังหวัดมีทั้งหมด 3 เครื่อง ดำเนินการตรวจจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานทั้งจังหวัด โดยมีกล้องถ่ายภาพจอประสาทตาทั้งหมด 3 เครื่อง

  26. ๒) รถทันตกรรมเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นรถที่มียูนิตทำฟัน เพื่อสนับสนุนการให้บริการหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ไปยังที่มีความขาดแคลน

  27. ๓) โรงพยาบาลทุกแห่งเป็นศูนย์บริการร่วมเครื่องมือแพทย์ - โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี โดย รพสต.คัดกรองผู้มีความเสี่ยงส่งตรวจอัลตร้าซาวด์และ X-ray ที่ รพ. - รพ.สต.ส่งสิ่งส่งตรวจทางห้อง LAB มาตรวจที่ รพ. - การให้ยืมวัสดุ อุปกรณ์ในการดูแลผู้ป่วย เช่น ออกซิเจน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังหอบหืด ไม้ค้ำยัน รถเข็น ในผู้ป่วยที่พิการ • ยาและเวชภัณฑ์ รพ.ทุกแห่งเป็นแม่ข่าย ให้รพสต.แต่ละแห่งเบิกจ่ายยาและเวชภัณฑ์ รวมทั้งวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

  28. ๒.๒.๔ การเข้าถึงบริการร่วม • การเข้าถึงบริการปฐมภูมิ - พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)หมอครอบครัว ดูแลสุขภาพประชาชนตามกลุ่ม WECANDO ความเสี่ยงและลดปัจจัยเสี่ยง ให้ทุกกลุ่มวัยได้เข้าถึงบริการตามสิทธิประโยชน์โดยใช้ นสค./อสม.เป็นกลไกสำคัญ ๒) การเข้าถึงบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ - พัฒนาระบบบริการตามนโยบาย SERVICE PLAN - พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน District Health System (DHS)เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการให้บริการตามบริบทที่จำเป็น Essential

  29. ๒.๓ ผลการจัดบริการเฉพาะ๒.๓.๑ ผลการจัดบริการเฉพาะ

  30. การลดความแออัด มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Sharing Resource) • เครื่องตรวจ Fundus Camera ตรวจจอประสาทตาของผู้ป่วย โรคเบาหวานในทุกอำเภอ โดยใช้ร่วมกันระหว่าง รพ.และ รพ.สต.

  31. ๒) รถทันตกรรมเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นรถที่มียูนิตทำฟัน เพื่อสนับสนุนการให้บริการหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ไปยังที่มีความขาดแคลน

  32. ๓) โรงพยาบาลทุกแห่งเป็นศูนย์บริการร่วมเครื่องมือแพทย์ - โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี โดย รพสต.คัดกรองผู้มีความเสี่ยงส่งตรวจอัลตร้าซาวด์และ X-ray ที่ รพ. - รพ.สต.ส่งสิ่งส่งตรวจทางห้อง LAB มาตรวจที่ รพ. - การให้ยืมวัสดุ อุปกรณ์ในการดูแลผู้ป่วย เช่น ออกซิเจน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังหอบหืด ไม้ค้ำยัน รถเข็น ในผู้ป่วยที่พิการ • ยาและเวชภัณฑ์ รพ.ทุกแห่งเป็นแม่ข่าย ให้รพสต.แต่ละแห่งเบิกจ่ายยาและเวชภัณฑ์ รวมทั้งวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

  33. (๒๒๒) ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน การแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน(มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๑๖)

  34. สถานการณ์การพัฒนาแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก - รพ.ทุกแห่ง พัฒนามาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.) ผลการประเมิน ได้มาตรฐานระดับดีเยี่ยมทุกแห่ง - หน่วยบริการปฐมภูมิ 117 แห่ง ขึ้นทะเบียนให้บริการแพทย์แผนไทย จำนวน 111 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 94.87 และผ่านเกณฑ์มาตรฐานรพ.สส.พท. 35 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29.91

  35. กระบวนการพัฒนา ๑. พัฒนาการให้บริการงานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกให้ได้มาตรฐาน - ประชุมแนวทางการบันทึกข้อมูล - ประชุมส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรทดแทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน - ประชุมส่งเสริมการพัฒนามาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.)

  36. ๒. พัฒนาองค์ความรู้ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ - ประชุมถ่ายทอดองค์ความรู้/ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ๓. พัฒนาเครือข่ายงานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก - ประชุมกำหนดทิศทางในภาพของจังหวัด - นิเทศงาน - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์ความรู้งานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ๔. พัฒนาเครือข่ายคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร

  37. ผลการดำเนินงาน จำนวนครั้ง ของผู้มารับบริการที่ผู้ป่วยนอก 843,477ครั้ง ใช้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก 200,399 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 22.88 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

  38. ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทย ต.ค.56 - ม.ค.57

  39. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หน่วยงานที่กำหนดนโยบาย 2 หน่วย ได้แก่ จากกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ และ จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติการกำหนดตัวชี้วัดผลงาน หรือ การตีความหมายในการให้บริการ จะมีมุมมองไม่เหมือนกัน ทำให้ผู้ปฏิบัติมีความสับสน ข้อเสนอแนะ ทั้งสองหน่วยงานควรจะมีบทบาทที่ชัดเจน ไม่ควรทำซ้ำซ้อนกัน เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพต่อไปในด้านการบริหารงบประมาณ ต่อไป

  40. (๒๒๓) ลดความแออัดและเวลารอคอย

  41. รูปแบบการลดความแออัด • การส่งผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีภาวะเสี่ยงไปรักษาต่อที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล • โรงพยาบาลทุกแห่ง มีแผนและปฏิบัติตามแผนในการลดความแออัด • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง ได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งบุคลากร ภูมิสถาปัตย์ และมาตรฐานการให้บริการ ทำให้สัดส่วนการมารับบริการที่ รพ.สต.เทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่าย เพิ่มขึ้น

  42. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่รับบริการในโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (๑ตุลาคม ๒๕๕๖-๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗)๔๖.๙๖ :๕๓.๐๔

  43. ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่รับบริการในโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (๑ตุลาคม ๒๕๕๖-๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗)๔๖.๐๓:๕๓.๙๗

  44. สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาลแม่ข่าย- มีสัดส่วนการรับบริการ ๒.๐๗ (เกณฑ์เป้าหมาย ตั้งไว้ไม่น้อยกว่า ๑.๓๖)สะท้อนภาพรวมความเชื่อมั่นต่อหน่วยบริการ ปฐมภูมิของประชาชนในเขตรับผิดชอบ

  45. การลดระยะเวลาการรอคอยการลดระยะเวลาการรอคอย ๑) รพ.ยโสธร มีการจัดคลินิกรุ่งอรุณ คลินิกนอกเวลา ๒) รพ.ชุมชนทุกแห่ง มีคลินิกรุ่งอรุณในวันเบาหวาน และ จัดบริการตามสภาพ ปัญหาเพื่อลดความแออัด ๓) รพ.สต.ทุกแห่ง ได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลการให้บริการ และจัดบริการตามบริบทของพื้นที่ เช่น การจัดให้อยู่เวรรักษาพยาบาล ตั้งแต่ ๑๖.๐๐ น. ถึง ๒๐.๐๐ น. และจัดเวรให้บริการตลอด ๒๔ ชั่วโมง

  46. ระยะเวลารอคอยของผู้รับบริการ ปี 2554-2556 รพ.ยโสธร นาที

More Related